สังคมความรู้ (Knowledge society)

ยุคของสังคมความรู้ (ยุคแห่งความรู้สังคม)

สังคมความรู้ยุคที่ 1

เป็นสังคมความรู้ที่มีพลังและอยู่กับกันเกิดการผลิตมี
ความสามารถในการแข่งขันกลไกตลาดและความอยู่รอด ซึ่งบุคคลเหล่านี้จะมีความสามารถ 5 ด้าน ดังนี้

1.Knowledge Access คือ การเข้าถึงความรู้ด้วยวิธีการต่างๆ

2.Knowledge Validation คือ การประเมินความถูกต้องของความรู้

3.Knowledge Valuation คือ การตีค่า การตีความรู้

4.Knowledge Optimization คือ การทำความรู้ให้ง่ายที่จะใช้

5.Knowledge Dissemination คือ การกระจายความรู้

สังคมความรู้ยุคที่ 2

เป็นสังคมความรู้แบบพอเพียง สมดุล บูรณาการ ประชาชนและทุก
ภาคส่วนมีบทบาทในการร่วมกันเป็นเจ้าของ ลักษณะสำคัญของสังคมความรู้ยุคที่ 2 คือ

1.มีการสะสมความรู้ภายในสังคม

2.มีการถ่ายโอนความรู้ภายในสังคม

3.มีการสร้างสรรค์ความรู้ใหม่ในสังคม

4.มีการประยุกต์ความรู้มาใช้ภายในสังคม

ลักษณะสังคมแห่งการเรียนรู้

ไม่จำกัดขนาดเเละสถานที่ตั้ง

เน้นการจัดการเรียนรู้เป็นปัจจัยหลัก

ประชาชนได้รับโอกาสการพัฒนา (Key Individuals)

สถาบันทางสังคมในพื้นที่เป็นตัวหลักในการริเริ่ม/ดำเนินการ(Key Institutions)

มีกลุ่มภาคประชาชนเป็นแกนกลาง (Core Groups) เพื่อรวมตัวกันจัดกิจกรรมพัฒนาชุมชน

มีการพัฒนานวัตกรรมและระบบการเรียนรู้

มีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการอย่างต่อเนื่อง

สถานศึกษาเป็นส่วนหนึ่งของชุมชนแห่งการเรียนรู้

การริเริ่ม/การเปลี่ยนแปลงมีอยู่ตลอดเวลา

ความรับผิดชอบเป็นหน้าที่ของบุคคลและชุมชนร่วมกัน

ทุกคนเป็นครูและผู้เรียน

ความรู้ (Knowledge)

ประเภทรูปแบบความรู้

Tacit Knowledge ความรู้ที่ซ่อนอยู่ในบุคคลหรือความรู้ที่ซ่อนเร้นเป็นความรู้ที่ได้จากประสบการณ์

Explicit Knowledge ความรู้ที่เด่นชัดหรือความรู้ที่บันทึกไว้เป็นความรู้ที่สามารถรวบรวมได้โดยผ่านวิธีต่างๆ

ข้อมูล สารสนเทศและความรู้ มีความหมายที่เกี่ยวข้องกันจนในบางครั้งไม่สามารถแยกออก
จากกันได้

ข้อมูล (Data)

สัญลักษณ์ที่ยังไม่ได้เเปรความ

สารสนเทศ (Information)

ข้อมูล ข่าวสาร ข้อเท็จจริง ความรู้ต่างๆ ที่ผ่านการประมวลผลแล้วและสามารถนำมาใช้ประโยชน์ได้
โดยสารสนเทศนั้นบันทึกไว้ในรูปแบบของวัสดุตีพิมพ์

ความรู้(Definition of Knowledge)

ความเข้าใจในเรื่องบางเรื่อง หรือสิ่ง
บางสิ่ง ซึ่งอาจจะรวมไปถึงความสามารถในการนำสิ่งนั้นไปใช้เพื่อเป้าหมายบางประการ

นิยามหรือความหมายของสังคมความรู้ (Definition of Knowledge Society)

สังคมความรู้หมายถึงสังคมที่มีการรักษาและใช้ประโยชน์จากเครื่อช่ายข้อมูลสูงจากความรู้ที่มีการทำงานโดยใช้ทักษะเเละความรู้สูง

กระบวนการจัดการความรู้ ้(Processes of Knowledge)

การบ่งชี้ความรู้

การสร้างเเละเเสวงหาความรู้

การจัดความรู้ให้เป็นระบบ

การประมวลเเละกลั่นกรองความรู้

การเข้าถึงความรู้

การจัดความรู้ในองค์กรการแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้

จัดเอกสารเอกสารความรู้ (Explicit Knowledge)

จัดระเบียบระบบทีมข้ามสายงาน (Tacit Knowledge)

การเรียนรู้ควรทำให้การเรียนรู้เป็นส่วนหนึ่งของงาน

地図を中央に表示するには、ここをクリックしてください。
地図を中央に表示するには、ここをクリックしてください。