อารยธรรมไทย

ธนบุรี

ปัญหาและอุปสรรค

พุทธขาดองค์อุปถัมป์

ทั้งพระธรรมวินัยคณะสงฆ์ เกิดความวิปลาสคลาดเคลื่อน

พระสงฆ์กระจัดกระจายตั้งตนเป็นใหญ่

พม่าตีอยุธยาแตก ๒๓๑๐

ความรุ่งเรืองตกไป

ช่างฝีมือนักปราชญ์และบัณฑิต ถุกกวาดต้อนไปกรุงอังวะ

ไม่เป็นศูนย์กลางอีกต่อไป

กลายเป็นก๊กเป็นเหล่า แย่งชิงอำนาจกัน

บ้านเมืองอยู่ในสภาพฟื้นตัวจากสงคราม

ไม่มีกำลังคน

กระจัดกระจายไปตามศูนย์อำนาจย่อย ๆ

ขาดแคลนอาหาร

พลเมืองอดอยาก (ข้าว)

ขาดรายได้ของแผ่นดิน

การขาดศูนย์กลางอำนาจ

จุดเด่น

r

คำนึงถึง ยุทธศาสตร์ เป็นหลัก

ยุทธศาสตร์เพื่อความสืบเนื่อง

การแสดงองค์เป็นกษัตริย์แห่งอยุธยาและสยามประเทศ

มีความตั้งพระทยที่จะรวบรวมพระราชอาณาเขให้ได้ดังเดิม

ความพยายามในการปลูกจิตสำนึกประชาชนให้ระลึกถึงอยุธยา

การสืบต่อระบบการเมือการปกครอง กฏหมาย และศาล จากอยุธยา

ยุทธศาสตร์และการกำกับการสร้างสรรค์อารยธรรม

r

การจะให้ธนบุรีอยู่รอดได้ เหนือพม่า ต้องเอาอิทธิพลทางการเมืองและเศรษฐกิจเหนือเมืองประเทศราชอย่าง เขมรและล้านช้าง ให้กลัมมาสู่อาณาจักร จึงต้องทำสงคราม ไม่งั้นจะไม่อาจกอบกูความเป็นอยุธยากลับมาได้

ยุทธศาสตร์ในการฟื้นฟูสภาพเศรษฐกิจ

ยุทธศาสตร์ในการสร้างสรรค์วัฒนธรรม

รัตนโกสินทร์

ต้นรัตนโกสินทร์

อิทธิพลจากโลตะวันตกกับความเปลี่ยนแปลงในอารยธรรมไทย

อารยธรรมไทยกับยุคพัฒนาประเทศสู่โลกปัจจุบัน

จุดเริ่มต้นของการพัฒนาประเทศสู่โลกปัจจุบัน

ความสำคัญของการเปลี่ยนแปลงการปกครอง ๒๔๗๕ ในเชิงอารยธรรม

ความเปลี่ยนแปลงการปฏิวัติ๒๔๗๕ มีผลต่อการเมืองไทย

พัฒนาการทาอารยธรรมในสมัยแรกเริ่มประชาธิปไตย

การเปี่ยนแปลงทางวัฒนธรรม

ปัญหาและอุปสรรคในกรดำเนินงานของคณะราษฎร

ความขัดแย้งภายในคณะราษฎร

ปฏิกิริยาจากสถาบันพระมหากษัตริย์

อายธรรมไทยยุคสร้างชาติ
๒๔๘๑-๒๔๘๘

ตั้งแต่ปี ๒๕๐๑-ปัจจุบัน