สังคมความรู้
(knowledge society)

r

สังคม

กระบวนการจัดการความรู้
(Processes of knowledge )

1 การบ่งชี้ความรู้ เป็นการพิจารณาว่าจะทำอย่างใรให้องค์กรบรรลุเป้าหมาย

2 การจัดการความรู้ให้เป็นระบบ

3 การสร้างและแสวงหาความรู้ ซึ่งสามารถทำได้หลายทาง เช่น การสร้างความรู้

4 การประมวลและกลั่นของความรู้ เช่น การปรุงรูปแบบเอกสารให้เป็นมาตรฐาน

5 การเข้าถึงความรู้ เป็นการทำให้ผู้ใช้ได้เข้าถึงความรู้

6 การจัดการองค์ความรู้ในองค์กรแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้

7 การเรียนรู้ ควรทำให้การเรียนรู้เป็นส่วนหนึ่งของงาน

ความรู้
(knowledge)

4.1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ " ความรู้ " ข้อมูลข่าวสารสนเทศและความรู้
มีความหมายที่เกี่ยวข้องกัยจนในบางครั้งไม่สามารถเเยกออกจากกันได้

4.1.1 ความหมายของข้อมูล บันทึกที่เเสดงความเป็นไปหรือข้อเท็จจริงที่เกี่ยวข้องกับเหตุการณ์หนึ่งๆ ซึ่งข้อมูลสามารถแบ่งเป็น5ประเภท
1). ข้อมมูลตัวเลขหรือข้อมูลเชิงจำนวน
2). ข้อมูลที่เป็นข้อความ
3). ข้อมูลกราฟิก
4). ข้อมูลภาพลักษณ์
5). ข้อมูลเสียง

4.1.2 ความหมายของสารสรเทศ ข้อมูลที่มีคุณค่าและโปรโยนชน์ทั้งในเชิงจำนวนคุรภาพ

4.2 ความหมายของความรู้

ความรู้หมายถึง ส่วนประสมที่เกิดจากประสบการณ์การทำงาน และ ประสบการณ์ที่เกิดขึ้นใหม่พร้อมจะถูกนำไปใช้ในการตัดสินใจในการทำงานต่างๆ

4.3 ประเภทรูปแบบของความรู้

1) tacit knowledge ความรู้ที่ซ่อนอยู่ในตัวแต่ละบุคคลหรือเป็นความรู้ที่ซ่อนเร้นในประสบการณ์
2) Explicit ความรู้ที่เด่นชัดหรือความรู้ที่บันทึกไว้ เป็นความรู้ที่สามารถ ถ่ายทอดได้โดยวิะีต่างๆแบ่งประเภทของความรู้ออกเป็น4ระดับ

1) ความรู้เกี่ยวกับสิ่งรอบตัวเรา

2) ความรู้ด้านภาษา

3) ความรู้ใหม่

นิยามหรือความหมายของสังคมความรู้
( Definition of knowledge )

สังคมที่มีการเข้าถึงและใช้ประโยชน์จากเครือข่ายสารสนเทศสูง จากความรู้ที่มีบุลคลากรืำงานโดยใช้ทักษะและความรู้

ยุคของสังคมความรู้
(Knowledge Society)

สังคมความรู้ยุคที่1

เป็นสังคมความรู้ที่มีพลังและอำนาจอยู่ด้วยกันเกิดการผลิตความสามารถในการแข่งขัน กลไกล และการอยู่รอด

1) Knowledge Across คือ การเข้าถึงความรู้ด้วยวิธีการต่างๆ

2) Knowledge Valiadtion คือ การประเมินความรู้ความถูกต้องของความรู้

3) Knowledge Valuation คือ การตีค่าการเรียนรู้

4) Knowledge Optimization คือ การทำความรู้ให้ง่ายที่จะใช้การนำความรู้ออกมาเป็นกฎเกณฑ์

5) Knowledge Dissemination คือ การระจายความรู้

สังคมความรู้ยุคที่2

1) มีการสะสมความรู้ภายในสังคม

2) มีการถ่ายโฮนความรู้ภายในสังคม

3) มีการสร้างสรรค์ความรู้ใหม่ในสังคม

4) มีการประยุกต์ความรู้มาใช้ในสังคม

ลักษณะสังคมแห่งการเรียนรู้

3.1 ไม่จำกัดขนาดและที่ตั้ง

3.2 เน้นการจัดการเรียนรู้เป็นปัจจัยหลัก

3.3 ประชาชนได้รับโอกาศในการพัฒนา

3.4 สถาบันทางสังคมในพื้นที่เป็นตัวหลักในการริเริ่มดำเนินการ

3.5 มีกลุ่มภาคประชาชนเป็นแกนกลาง

3.6 มีการพัฒนานวัตกรรมและระบบการเรียนรู้

3.7 มีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินอย่างต่อเนื่อง

3.8 การริเริ่มการเปลี่ยนแปลงมีอยู่ตลอดเวลา

3.9 สถานศึกษาเป็นส่วนหนึ่งของชุมชนแห่งการเรียนรู้

3.10 ความรับผิดชอบเป็นหน้าที่ของบุคคลและชุมชนร่วมกัน

3.11 ทุกคนเป็นครูและผู้เรียน

Klicka här för att centrera din tankekarta.
Klicka här för att centrera din tankekarta.