การสื่อสารข้อมูล
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการสื่อสารข้อมูลเบื้องต้น
การโอนถ่าย (Transmission) ข้อมูลหรือการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างต้นทางกับปลายทาง โดยใช้อุปกรณ์ทางอิเล็กทรอนิกส์หรือเครื่องคอมพิวเตอร์
ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์สำหรับควบคุมการส่งและการไหลของข้อมูลจากต้นทางไปยังปลายทาง
นอกจากนี้อาจจะมีผู้รับผิดชอบในการกำหนดกฏเกณฑ์ในการส่งหรือรับข้อมูลตามรูปแบบที่ต้องการ
ชนิดของสื่อกลางส่งข้อมูล
สื่อกลางแบบใช้สาย
สายคู่บิดเกลียว (twisted pair cable)
สายนำสัญญาณแบบนี้แต่ละคู่สายที่เป็นสายทองแดงจะถูกพันบิดเป็นเกลียว เพื่อลบการรบกวนของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจากคู่สายข้างเคียงภายในสายเดียวกันหรือจากภายนอก ทำให้สามารถส่งข้อมูลด้วยความเร็วสูง
สายคู่บิดเกลียวสามารถใช้ส่งข้อมูลจำนวนมากเป็นระยะทางไกลได้หลายกิโลเมตร เนื่องจากราคาไม่แพงมาก ใช้ส่งข้อมูลได้ดี น้ำหนักเบา ง่ายต่อการติดตั้ง จึงนิยมใช้งานอย่างกว้างขวาง ตัวอย่างสายคู่บิดเกลียว

สายคู่บิดเกลียวมี 2 ชนิด
สายคู่บิดเกลียวชนิดไม่มีการกั้นสัญญาณรบกวน(Unshielded Twisted Pair :UTP)
สายคู่บิดเกลียวชนิดมีการกั้นสัญญาณรบกวน (Shielded Twisted Pair : STP)

สายโคแอกเชียล (Coaxial Cable)
เส้นใยแก้วนำแสง หรือ ไฟเบอร์ออฟติกส์ (Fiber Optic Cable)
สื่อกลางส่งข้อมูลแบบไร้สาย

คลื่นวิทยุ (Radio Wave)
วิธีการสื่อสารประเภทนี้จะใช้การส่งคลื่นไปในอากาศ เพื่อส่งไปยังเครื่องรับวิทยุโดยรวมกับคลื่นเสียงมีความถี่เสียงที่เป็นรูป แบบของคลื่นไฟฟ้า

สัญญาณไมโครเวฟ (Microwave)
เป็นสื่อกลางในการสื่อสารที่มีความเร็วสูง ส่งข้อมูลโดยอาศัยสัญญาณไมโครเวฟ ซึ่งเป็นสัญญาณคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าไปในอากาศพร้อมกับข้อมูลที่ต้องการส่ง

สัญญาณดาวเทียม (Satellite)
ลักษณะของสัญญาณดาวเทียมเป็นการรับส่งสัญญาณข้อมูลอาจจะเป็นแบบจุดต่อจุด (Point-to-Point) หรือแบบแพร่สัญญาณ (Broadcast)
สถานีดาวเทียม 1 ดวง สามารถมีเครื่องทบทวนสัญญาณดาวเทียมได้ถึง 25เครื่องและสามารถครอบคลุมพื้นที่การส่งสัญญาณได้ถึง1ใน 3ของ
บลูทูธ (Bluetooth)
ระบบสื่อสารของอุปกรณ์อิเล็คโทรนิคแบบสองทาง ด้วยคลื่นวิทยุระยะสั้น (Short-Range Radio Links) โดยปราศจากการใช้สายเคเบิ้ล หรือ สายสัญญาณเชื่อมต่อ

อินฟราเรด (Infrared)
ลักษณะของสัญญาณอินฟราเรดเป็นคลื่นความถี่สั้น ซึ่งมีความคล้ายคลึงกับคลื่นไมโครเวฟตรงที่การส่งสัญญาณเป็นแนวเส้นตรงในระดับสายตาเหมือนกัน
การพิจารณาสื่อกลางส่งข้อมูล
ต้นทุน (Speed)
แน่นอนว่า สื่อกลางแต่ละชนิด แต่ละประเภทย่อมมีต้นทุนที่แตกต่าง กัน เนื่องจากวัสดุที่นำมาผลิตสื่อกลางแต่ละชนิด ทำมาจากวัสดุที่ แตดต่างกัน
ความเร็ว
สำหรับการการประเมินคุณสมบัติด้านความเร็วของสื่อกลาง ส่งข้อมูล จะพิจารณาจาก ความเร็วในการส่งผ่านสัญญาณ คือความเร็วในการส่งข้อมูล ซึ่งสามารถคำนวณได้จาก จำนวนบิตต่อวินาที
ระยะทาง
สื่อกลางส่งข้อมูลแต่ละชนิด มีขีดความสามารถในการส่งสัญญาณได้ ไกล บนระยะทางที่แตกต่างกัน ดังนั้นกรณีที่ต้องการเชื่อมโยงสายส่ง ข้อมูลที่มีระยะทางไกลๆ เป็นกิโลเมตร ก็ควรใช้สายส่งข้อมูลที่ เหมาะสม
ความปลอดภัย
ความปลอดภัยในเรื่องของการลักลอบ หรือจารกรรมข้อมูลบน เครือข่ายสามารถเกิดขึ้นได้จากแฮกเกอร์ ด้วยการดักจับสัญญาณบน เครือข่าย ดังนั้นระบบที่ต้องการความปลอดภัยสูง
สภาพแวดล้อม
เป็นปัจจัยสําาคัญอย่างหนึ่งในเลือกใช้สื่อกลาง เช่น สภาพแวดล้อมที่เป็นโรงงานอุตสาหกรรม
องค์ประกอบพื้นฐานของระบบสื่อสารข้อมูล
ผู้ส่ง (sender)
คนหรืออุปกรณ์ที่ใช้สำหรับส่งข้อมูล/ข่าวสาร ซึ่งอาจเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ โทรศัพท์ กล้องวีดีทัศน์
ผู้รับ (receiver)
คนหรืออุปกรณ์ที่ใช้สำหรับรับข้อมูล/ข่าวสารที่ทางผู้ส่งข้อมูลส่งให้ซึ่ง อาจเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ โทรศัพท์ เป็นต้น
สื่อกลางในการส่ง ข้อมูล
(transmission media)
สิ่งที่ทำหน้าที่ในการรับส่งข้อมูลข่าวสารไปยังจุดหมายปลายทาง โดยการสื่อกลางในการส่งข้อมูลจะมีทั้งแบบมีสาย เช่น สายเคเบิล สายยูทีพี สายไฟเบอร์ออพติก และสื่อกลางในการส่งข้อมูลแบบไร้สาย เช่น คลื่นวิทยุ ไมโครเวฟ และดาวเทียม
โพรโทคอล (protocol)
กฏเกณฑ์ ระเบียบ หรือข้อปฏิบัติต่างๆ ที่กำหนดขึ้นมาเพื่อเป็นข้อตกลงในการสื่อสารข้อมูลระหว่างผู้รับและผู้ส่ง
สื่อกลางส่งข้อมูล

การส่งสัญญาณบนสื่อกลางแบบบรอดแบนด์ (Broadband)
เป็นการใช้ช่องทางการสื่อสารหลายช่องทางเพื่อส่งสัญญาณแอนะล็อก

การส่งสัญญาณบนสื่อกลางแบบเบสแบนด์(Baseband)
เป็นการใช้ช่องทางการสื่อสารเพียงช่องทางเดียวสําหรับการส่งสัญญาณดิจิทัลในแต่ละครั้งในช่วงเวลาหนึ่ง โดยเครือข่ายคอมพิวเตอร์ส่วนใหญ่มักใช้การส่งสัญญาณชนิดนี้เนื่องจากเป็นวิธีการที่ไม่ซับซ้อนและสามารถจัดการควบคุมง่าย
เกณฑ์การวัดประสิทธิภาพเครือข่าย
สมรรถนะ (Performance)
สมรรถนะของระบบเครือข่ายวัดได้จาก เวลาที่ใช้ในการส่งข้อมูลซึ่งหมายถึงเวลาที่ข้อมูล ข่าวสารเดินทางจากอุปกรณ์หนึ่งไปยังอีกอุปกรณืหนึ่ง
ความน่าเชื่อถือ (Reliability)
ความถี่ของความล้มเหลว
ระยะเวลาที่ฝช้ในการกู้ระบบคืน กรณีที่เกิดความล้มเหลว
3.ความปลอดภัยของข้อมูล (Security)
ระบบป้องกันบุคคลที่ไม่มีสิทธิ์ในการเข้าถึงข้อมูล
การป้องกันไวรัสคอมพิวเตอร์