Knowledge Society

ยุคของสังคมความรู้

สังคมความรู้ยุคที่ 1

Knowledge Access คือ การเข้าถึงความรู้ด้วยวิธีการต่างๆ

Internet

ICT Connectivity

Knowledge Validation คือ การประเมินความถูกต้องของความร

มีการประเมินความถูกต้องของความรู้

ความรู้มีจริง

ความรู้ของหลอก

Knowledge Valuation คือ การตีค่า การตีความรู้ การตีความรู้

1)ความ ไม่คุ้มค่า หรือราคาแพงเกินกว่าผลประโยชน

2) ใช้สำหรับสิ่งที่ไม่จำเป็น หรือฟุ่มเฟือย

3)ปฏิบัติจริงได้ยาก ขาดสิ่งจำเป็น

4)ขัดกับความคิด ความเชื่อ หรือวัฒนธรรม

5)ไม่สร้างความยุติธรรม และศักดิ์ศรีมนุษย์

Knowledge Optimization คือ การท าความรู้ให้ง่ายที่จะใช้

การนำความรู้ออกมาเป็นกฎเกณฑ์ ระเบียบต่าง ๆ

การทำคู่มือต่าง ๆ

Knowledge Dissemination คือ การกระจายความรู้

การสร้างพลังที่น าไปสู่ Empowerment

สังคมความรู้ยุคที่ 2

สังคมความรู้แบบพอเพียง สมดุล บูรณาการ ประชาชนและทุก
ภาคส่วน และพึ่งตนเอง นักวิชาการ นักวิชาชีพมีบทบาทเป็น Knowledge Broker ทำให้เกิดเป็นวิจัยแบบบูรณา

ลักษณะสำคัญของสังคมความรู้ยุคที่ 2 คือ

1) มีการสะสมความรู้ภายในสังคม

2) มีการถ่ายโอนความรู้ภายสังคม

3) มีการสร้างสรรค์ความรู้ใหม่ในสังคม

4) มีการประยุกต์ความรู้มาใช้ภายในสังคม

กระบวนการจัดการความรู้

การบ่งชี้ความรู้

การสร้างและแสวงหาความร

การจัดความรู้ให้เป็นระบบ

การประมวลและกลั่นกรองความรู้

การเข้าถึงความร

การจัดการความรู้ในองค์กรการแบ่งปันแลกเปลี่ยนความร

การเรียนรู

นิยามหรือความหมายของสังคมความรู้

ลักษณะสังคมแห่งการเรียนรู้

ไม่จ ากัดขนาดและสถานที่ตั้ง

เน้นการจัดการเรียนรู้เป็นปัจจัยหลัก

ประชาชนได้รับโอกาสการพัฒนา (Key Individuals)

สถาบันทางสังคมในพื้นที่เป็นตัวหลักในการริเริ่ม/ด าเนินการ (Key Institutions)

มีกลุ่มภาคประชาชนเป็นแกนกลาง (Core Groups) เพื่อรวมตัวกัจัดกิจกรรมพัฒนาชุมชน

มีการพัฒนานวัตกรรมและระบบการเรียนรู้

มีภาคีเครือข่ายที่ร่วมด าเนินการอย่างต่อเนื่อง

การริเริ่ม/การเปลี่ยนแปลงมีอยู่ตลอดเวลา

สถานศึกษาเป็นส่วนหนึ่งของชุมชนแห่งการเรียนรู้

ความรับผิดชอบเป็นหน้าที่ของบุคคลและชุมชนร่วมกัน

ทุกคนเป็นครูและผู้เรียน

ความรู้

ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ “ความรู้ ข้อมูล สารสนเทศและความรู้

ความหมายของข้อมูล (Data)

ความหมายของสารสนเทศ (Information)

ประเภทรูปแบบความรู้(Type of Knowledge)

Tacit Knowledge

ความเชี่ยวชาญหรือสัญชาติญาณของแต่ละบุคคล

Explicit Knowledge

ความรู้เกี่ยวกับสิ่งรอบตัวเรา

ด้านภาษา

ด้านวิชาการ

ความรู้ใหม

หมายถึง สังคมที่มีการเข้าถึงและใช้ประโยชน์จากเครือข่ายสารสนเทศสูง