สถิติพื้นฐานเพื่อการวิจัย

ประเภทของข้อมูล

นามบัญญัติ (Nominal Scale)

เป็นระดับการวัดที่หยาบที่สุดจัดข้อมูล
หรือตัวแปรออกเป็นกลุ่ม เช่น เพศ
อำชีพเป็นต้น

ใช้สถิติง่ายๆ ในการคำนวณ คือ ความถี่สัดสว่น ร้อยละ ซึ่งข้อมูลเหล่านี้เป็นเพียงตัวแทนชื่อกลุ่มเท่านั้น จะนำไปบวก ลบ คูณ หาร ไม่ได้ในทางสถิติ เพราะไม่มีความหมาย

เรียงอันดับ (Ordinal Scale)

เป็นข้อมูลที่ใช้จัดอันดับของสิ่งต่างๆ โดย
เรียงอันดับของข้อมูลตามวัตถุประสงค์ที่ต้้งไว้จำกสูงสุดไปหาต่ำสุด

สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ คือ ความถี่ สัดส่วน
ร้อยละ

อันตรภาค (Interval Scale)

เป็นข้อมูลที่บอกถึงความแตกต่างระหว่างค่าที่
วัดได้แต่ละช่วง ที่มีความห่างเท่ากัน ทุกช่วง
เป็นข้อมูลที่เป็นตัวเลข สามารถ บวก ลบ กันได้
แต่ไม่มีศูนย์แท้

เป็นข้อมูลที่บอกถึงความแตกต่างระหว่างค่ำที่
วัดได้แต่ละช่วง ที่มีความห่างเท่ากัน ทุกช่วง
เป็นข้อมูลที่เป็นตัวเลข สามารถ บวก ลบ กันได้
แต่ไม่มีศูนย์แท้

อัตราส่วน (Ratio Scale)

ข้อมูลลประเภทนี้เป็นข้อมูลที่ใช้วัดในระดับสูง

สามารถบวก ลบ คูณ หาร ได้ และมีศูนย์แท้

ข้อมูลเหล่านี้สามารถนำไปวิเคราะห์กับสถิติได้
ทุกตัว

ประเภทของสถิติ

Descriptive Statistics สถิติเชิงพรรณนา

การใช้สถิติเพื่ออธิบายข้อมูลที่มีอย

ไม่ได้น าไปพยากรณ์ประชากร แต่อย่างใด

ลักษณะที่จะพรรณนาข้อมูลนั้น มีอยู่สองลักษณะ

การใช้ตัวอักษรหรือตัวเลข

การใช้ตัวอักษรหรือตัวเลข

Inferential Statisticsสถิติพารามิเตอร์

สถิติว่าด้วย การวิเคราะห์ข้อมูลที่รวบรวม
มาจากกลุ่มตัวอย่างเพื่ออธิบาย สรุป
ลักษณะบางประการของประชากร โดยมี
การนำทฤษฎี ความน่าจะเป็นมาประยุกต์ใช้

ข้อมูลระดับช่วงขึ้นไป (Interval Scale)

มีการแจกแจงเป็นโค้งปกติ

ประชากรแต่ละกลุ่มที่นำมาศึกษาจะต้องมีความ
แปรปรวนเท่ากัน ใช้ t-test, Z-test, ANOVA,
Regression ฯลฯ

การเขียนแสดงค่าใช้อักษรกรีกเป็นสัญลักษณ์

สถิตไร้พารามิเตอร์ (Nonparametric
Statistics)

เป็ นวิธีการทางสถิติที่สามารถ
นำมาใช้ได้โดยปราศจากข้อตกลง
เบื้ องต้นทั้ง 3 ประการข้างต้น สถิติที่
อยู่ในประเภทนbtopic

วัตถุประสงค์โดยทั่วไปของกำรใช้สถิติเพื่อกำรวิจัย

พรรณนำคุณสมบัติของหน่วยศึกษา/วิเคราะห์

ศึกษาความแตกต่างระหว่างกลุ่มต่างๆ ที่เป็น
เป้าหมายของการศึกษา

ศึกษาความสัมพันธ์
ระหว่างตัวแปร

ศึกษาการประมาณค่า
หรือการพยากรณ์

คำจำกัดความ

สถิติ (Statistics) มาจากภาษาเยอรมัน
ว่า Statistics มีรากศัพท์มาจาก Stat หมายถึง
ข้อมูลหรือสารสนเทศ ซึ่งจะอำนวยประโยชน์ต่อ
การบริหารประเทศในด้านต่างๆ

สถิติ หมายถึง ตัวเลขหรือข้อมูลที่ได้จากการ
เก็บรวบรวม หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ข้อมูลทางสถิติ

ตัวเลขแทนปริมาณจำนวนข้อมูลหรือข้อเท็จจริงของสิ่งต่างๆที่โดยทั่วไปต้องการศึกษาหาความรู้

ค่าตัวเลขที่เกิดจากการคำนวณมาจากกลุ่มตัวอย่าง(Sample) หรือคิดมา
จากนิยามทางคณิตศาสตร์

ตัวแปร

ประเภทของตัวแปรที่ใช้ในสถิติ

ประเภทตัวแปรตามบทบาท

ตัวแปรอิสระ (Independent Variables)

คือตัวแปรที่กำหนดขึ้นเพื่อทดสอบสมมติฐาน
เป็นตัวแปรที่เราเปลี่ยนไปเพื่อจะดูผลที่
ตามมา

ตัวแปรตาม (Dependent Variables)

คือตัวแปรที่เปลี่ยนไปตามตัวแปรต้น หรือ
ผลของตัวแปรต้น

ประเภทของตัวแปรตามระดับของการวัด

ตัวแปรกลุ่ม หรือ นามมาตร หรือ นามกำหนด

ตัวแปรอันดับ

ตัวแปรช่วงหรืออันตรภาค

ตัวแปรอัตราส่วน

ข้อพิจารณ์การใช้สถิติเพื่อการวิจัย

ทราบวัตถุประสงค์ของการนำวิธีการสถิติมาใช้

ทราบประเภทของสถิติที่เหมาะสมกับวัตถุประสงค์

รู้ลักษณะของข้อมูลว่ามีการวัดระดับใด

สามารถกำหนดสถานภาพของตัวแปรที่ศึกษาได้ว่าเป็นตัวแปร
อิสระ หรือตัวแปรตาม

รู้หลักการเบื้องต้นของการใช้สถิติ

รู้การนำเสนอ การอ่าน และการตีความหมายผล

Klik her, for at centrere dit kort.
Klik her, for at centrere dit kort.