การประเมิน วิเคราะห์ สังเคราะห์สารสนเทศ
(Evaluate, Analysis, Synthesis
การวิเคราะห์สารสนเทศAnalysis
หมายถึง
กระบวนการแยกแยะสารสนเทศเป็นกลุ่มย่อยๆ โดยให้สารสนเทศที่มีเนื้อหาเดียวกันอยู่ด้วยกัน
กระบวนการ
1.การอ่านเนื้อหาของทรัพยากรสารสนเทศที่ผ่านการประเมินแล้ว
2.ดึงเนื้อหาที่สอดคล้องกับแนวคิดที่เราต้องการศึกษา
3.ทำการบันทึกลงในบัตรบันทึก
4.นำบัตรบันทึกมาจัดกลุ่มตามแนวคิด เพื่อใช้ในการเรียบเรียงเนื้อหา
วิธีเขียนบัตรบันทึกเนื้อหา
1.แบบย่อความ
2.แบบคัดลอกข้อความ
3.แบบถอดความ
การประเมินสารสนเทศ Evaluate
ความหมาย
การประเมินสารสนเทศเทศ คือ กระบวนการตรวจสอบวารสารสนเทศนั้นมีความน่าเชื่อถือ ถูกต้อง แม่นยำ เป็นปัจจุบัน และปราศจากอคติหรือความเอนเอียงใด ๆ หรือไม่ เพื่อให้ได้สารสนเทศที่มีคุณภาพ
ความสำคัญ
เพื่อคัดเลือกสารสนเทศที่เราได้จากการสืบค้นที่มีคุณค่า มีความน่าเชื่อถือในทางวิชาการ
หลักการประเมินสารสนเทศ
1.ประเมินความน่าเชื่อถือของแหล่งสารสนเทศ
2.ประเมินความน่าเชื่อถือของ ผู้เขียน ผู้จัดทำ สำนักพิมพ์
3.ประเมินความน่าเชื่อถือของทรัพยากรสารสนเทศ
4.ประเมินความทันสมัย
พิจารณาว่าเนื้อหาของสารสนเทศอยู่ในระดับไหน
สารสนเทศจากแหล่งปฐมภูมิ (Primary Source) หมายถึง สารสนเทศที่ได้จากต้นแหล่งโดยตรง
ได้แก่ วารสาร รายงานการวิจัย รายงานการประชุมและสัมมนาทางวิชาการ สิทธิบัตร
สารสนเทศจากแหล่งทุติยภูมิ (Secondary Source) เป็นสารสนเทศที่รวบรวมและเรียบเรียงขึ้นใหม่จากสารสนเทศที่มีการเผยแพร่แล้ว
ได้แก่ สื่ออ้างอิงประเภทต่าง ๆ หนังสือ บทคัดย่องานวิจัย
สารสนเทศจากแหล่งตติยภูมิ (Tertiary Source) เป็นสารสนเทศที่จัดทำในลักษณะรวบรวมขึ้น เพื่อใช้ค้นหาสารสนเทศปฐมภูมิและทุติยภูมิ
ได้แก่ บรรณานุกรม นามานุกรม หนังสือแนะนำวรรณกรรมเฉพาะสาขาวิชา และบรรณนิทัศน์
ลักษณะสำคัญของสารสนเทศที่ดี
1)พิจารณาความน่าเชื่อถือ
ความถูกต้องของสารสนเทศ
ความเที่ยงตรง
2)พิจารณาแหล่งที่มาของสารสรเทศ
ผู้แต่ง
สำนักพิมพ์
3)พิจารณาขอบเขตเนื้อหา
4)พิจารณาให้ตรงตามความต้องการ
5)พิจารณาช่วงเวลาที่เผยแพร่
การสังเคราะห์ Synthesis
จัดสารสนเทศที่ได้มาจากแหล่งต่างๆ
นำเสนอสารสนเทศ
การจัดการสารสนเทศโดยทั่วไป
จัดกลุ่ม
เรียงตามลำดับตัวอักษร
ตามลำดับเวลา
ตั้งแต่ต้นจนจบ
ใช้หลายๆวิธีข้างต้นผสมผสานกัน
การเขียนโครงร่าง
เป็นการกำหนดกรอบแนวคิดและขอบเขตเรื่อง
บทนำ
เนื้อหา
บทสรุป