Knowledge Societ
สังคมความรู้

นิยามหรือความหมายของสังคมความรู้
(Definition of Knowledge Society)

สังคมความรู้ หมายถึง สังคมที่มีการเข้าถึงและใช้ประโยชน์จากเครือข่ายสารสนเทศสูง จากความรู้ที่มีบุคลากรทางานโดยใช้ทักษะและความรู้สูง

กระบวนการจัดการความรู้
(Processes of Knowledge)

1.การบ่งชี้ความรู้

การพิจารณาว่าจะทำอย่างไรให้องค์กรบรรลุเป้าหมาย

2.การสร้างและแสวงหาความรู้

การสร้างความรู้ใหม่ แสวงหาความรู้จากภายนอก รักษาความรู้เก่า

3.การจัดความรู้ให้เป็นระบบ

การเก็บความรู้อย่างเป็นระบบเพื่อการเรียกใช้งานได้อย่างรวดเร็ว

4.การประมวลและกลั่นกรองความรู้

การปรับปรุงรูปแบบเอกสารให้เป็นมาตรฐาน

5.การเข้าถึงความรู้

ารทาให้ผู้ใช้ความรู้เข้าถึงความรู้ที่ต้องการได้ง่ายและสะดวก

6.การจัดการความรู้ในองค์กรการแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้

Explicit Knowledge อาจจะจัดทาเป็นเอกสาร ฐานความรู้
และเทคโนโลยีสารสนเทศต่างๆ

Tacit Knowledge จัดทาเป็นระบบ

7.การเรียนรู้

ทาให้การเรียนรู้เป็นส่วนหนึ่งของงาน

ลักษณะสังคมแห่งการเรียนรู้

ไม่จากัดขนาดและสถานที่ตั้ง

เน้นการจัดการเรียนรู้เป็นปัจจัยหลัก

ประชาชนได้รับโอกาสการพัฒนา (Key Individuals)

สถาบันทางสังคมในพื้นที่เป็นตัวหลักในการริเริ่ม/ดาเนินการ
(Key Institutions)

มีกลุ่มภาคประชาชนเป็นแกนกลาง (Core Groups) เพื่อรวมตัวกันจัดกิจกรรมพัฒนาชุมชน

มีการพัฒนานวัตกรรมและระบบการเรียนรู้

มีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดาเนินการอย่างต่อเนื่อง

การริเริ่ม/การเปลี่ยนแปลงมีอยู่ตลอดเวลา

สถานศึกษาเป็นส่วนหนึ่งของชุมชนแห่งการเรียนรู้

ความรับผิดชอบเป็นหน้าที่ของบุคคลและชุมชนร่วมกัน

ทุกคนเป็นครูและผู้เรียน

ยุคของสังคมความรู้
(Knowledge Society Era)

สังคมความรู้ยุคที่ 1

1) Knowledge Access คือ การเข้าถึงความรู้ด้วยวิธีการต่างๆ

2) Knowledge Validation คือ การประเมินความถูกต้องของความรู้

3) Knowledge Valuation คือ การตีค่า การตีความรู้

4) Knowledge Optimization คือ การทาความรู้ให้ง่ายที่จะใช้

5) Knowledge Dissemination คือ การกระจายความรู้

สังคมความรู้ยุคที่ 2

สังคมความรู้แบบพอเพียง สมดุล บูรณาการ ประชาชนและทุกภาคส่วนมีบทบาทในการร่วมกันเป็นเจ้าของนักวิชาการ นักวิชาชีพมีบทบาทเป็น Knowledge Broker ทาให้เกิดเป็นวิจัยแบบบูรณา

ลักษณะสาคัญของสังคมความรู้ยุคที่ 2

1) มีการสะสมความรู้ภายในสังคม

2) มีการถ่ายโอนความรู้ภายสังคม

3) มีการสร้างสรรค์ความรู้ใหม่ในสังคม

4) มีการประยุกต์ความรู้มาใช้ภายในสังคม

ความรู้ (Knowledge)

4.1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ “ความรู้”

ความหมายของข้อมูล (Data)

อมูล คือ กลุ่มของสัญลักษณ์ ข้อเท็จจริง ตัวเลข ข้อความ
ภาพ และเสียงที่ยังไม่ผ่านกระบวนการประมวลผล วิเคราะห์หรือสังเคราะห์เพื่อนาไปใช้ประโยชน์

ความหมายของสารสนเทศ (Information)

สารสนเทศ หมายถึงข้อมูล ข่าวสาร ข้อเท็จจริง ความรู้ต่างๆ ที่ผ่านการประมวลผลแล้วและสามารถนามาใช้ประโยชน์ได้

ความหมายของความรู้ (Definition of Knowledge)

ความรู้ หมายถึง ความเข้าใจในเรื่องบางเรื่องซึ่งอาจจะรวมไปถึงความสามารถในการนาสิ่งนั้นไปใช้เพื่อเป้าหมายบางประการ โดยอาศัยกระบวนการที่แปรผลมาจากข้อมูล สารสนเทศ
การศึกษา ประสบการณ์ต่างๆ ที่สะสมในอดีต และสามารถเพิ่มขึ้นได้อย่างไม่จำกัดในอนาคต

ประเภทรูปแบบความรู้ (Type of Knowledge)

1) Tacit Knowledge ความรู้ที่ซ่อนอยู่ในแต่ละบุคคล

2) Explicit Knowledge ความรู้ที่เด่นชัด