ความรู้พื้นฐานของการวิจัย
(Foundation of Research)

จุดมุ่งหมายของการวิจัย

เป้าหมายของการวิจัย

การวิจัยเป็นการสรุปผล หลักเกณฑ์และทฤษฏี

การวิจัยเป็นการเก็บรวบรวมข้อมูล

แนวคิดพื้นฐานของการวิจัย

กฎเหตุและผลของธรรมชาติ
(Deterministic Law of Nature)

กฎความเป็นระบบของธรรมชาติ
(Systematic Law of Nature)

กฎความสัมพันธ์ของธรรมชาติ
(Associative Law of Nature)

กฎองค์ประกอบหลักของธรรมชาติ
(Principle Component of Nature)

กฎความน่าจะเป็นของธรรมชาติ
(Probabilistic Law of Nature)

คุณลักษณะของการวิจัย

เป็นการแก้ปัญหาที่ช่วยให้สามารถบรรลุ
เป้าหมายสุดท้าย

เป็นการพัฒนาข้อสรุป หลักเกณฑ์และทฤษฎี
ที่สามารถนำไปใช้อ้างอิงหรือคาดการณ์

มีแนวคิดพื้นฐานของการได้รับข้อมูลที่สรุปจาก
ประสบการณ์

มีกระบวนการสังเกตที่ถูกต้อง ชัดเจน

เป็นการเก็บรวบรวมข้อมูลใหม่จาก
แหล่งปฐมภูมิ

มีระบบ มีวิธีการ แบบแผนการวิจัย

การดำเนินการโดยใช้ความรู้ความชำนาญของผู้วิจัยที่จะต้องรับรู้ปัญหาที่ตนเองจะทำวิจัย

กำหนดวัตถุประสงค์ โดยใช้เหตุผลตามหลักความเป็นจริงที่จะสามารถทดสอบได้และ
วิธีการที่เหมาะสม

จะต้องเป็นการดำเนินการแสวงหาคำตอบที่
นำมาใช้ตอบคำถามของปัญหา

ต้องดำเนินการด้วยความอดทน ไม่เร่งรีบและจะต้องยอมรับ/เผชิญอุปสรรค

มีการจดบันทึกข้อมูล และจัดทำรายงานการวิจัยด้วยความระมัดระวัง

ธรรมชาติของการวิจัย

การวิจัยเป็นกระบวนการเชิงประจักษ์

การวิจัยเป็นการดำเนินการที่เป็นระบบ

การวิจัยมีจุดมุ่งหมายที่ชัดเจน

การวิจัยมีความเที่ยงตรง (Validity)

การวิจัยมีความเชื่อมั่น (Reliability)

การวิจัยมีเหตุผล

การวิจัยเป็นการแก้ปัญหา

การวิจัยต้องมีการเก็บรวบรวมข้อมูลใหม่

การวิจัยมีวิธีการที่หลากหลาย

การวิจัยต้องใช้ศักยภาพของผู้วิจัย

จรรยาบรรณของนักวิจัย

นักวิจัยต้องซื่อสัตย์และมีคุณธรรมในทาง
วิชาการและการจัดการ

นักวิจัยต้องตระหนักถึงพันธกรณีใน
การทำงานวิจัย

นักวิจัยต้องมีพื้นฐานความรู้ในสาขาวิชาการ
ที่ทำวิจัย

นักวิจัยต้องมีความรับผิดชอบต่อ
สิ่งที่ศึกษาวิจัย

นักวิจัยต้องเคารพศักดิ์ศรีและสิทธิของมนุษย์ที่ใช้เป็นตัวอย่างในการวิจัย

นักวิจัยต้องมีอิสระทางความคิด

นักวิจัยพึงนำผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ในทางที่ชอบ

นักวิจัยพึงเคารพความคิดเห็น
ทางวิชาการของผู้อื่น

นักวิจัยพึงมีความรับผิดชอบต่อสังคมทุกระดับ

การเขียนคำถามวิจัย
(Research Questions)

ประเด็นคำถามเชิงพรรณนา

ประเด็นคำถามเชิงความสัมพันธ์

ประเด็นคำถามเชิงเปรียบเทียบ

ความหมายของการวิจัย
(Meaning of Research)

r

การวิจัย เป็นกระบวนการแสวงหาความรู้ที่มีระบบ มีขั้นตอนที่ชัดเจนปราศจาก อคติส่วนตัว สามารถตรวจสอบได้ที่ผู้วิจัยนำมาใช้ศึกษา ค้นคว้า ข้อเท็จจริง เพื่อนำไปใช้อธิบาย ปรากฏการณ์ ทางสังคม หรือพัฒนาเป็น กฎทฤษฏี หรือนำไปใช้ในการแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นได้อย่าง ถูกต้อง แม่นยำและเชื่อถือได้

ประเภทของการวิจัย

จำแนกตามประโยชน์ที่ได้รับหรือเหตุผล
ในการวิจัย

การวิจัยพื้นฐานหรือการวิจัยบริสุทธิ์
(Basic Research or Pure Research)

การวิจัยการนำไปใช้ (Applied Research)

จำแนกตามลักษณะ(ความลึก/ความกว้าง)
ของข้อมูล

การวิจัยเชิงปริมาณ
(Quantitative Research)

การวิจัยเชิงคุณภาพ
(Qualitative Research)

จำแนกตามระเบียบวิธีวิจัย(Methodology)

การวิจัยเชิงประวัติศาสตร์
(Historical Research)

การวิจัยเชิงบรรยาย
(Descriptive Research)

การวิจัยเชิงสำรวจ(Survey Research)

การศึกษาความสัมพันธ์
(Interrelationship Studies)

การศึกษาพัฒนาการ
(Developmental Studies)

การศึกษาความเจริญงอกงาม
(Growth Studies)

การศึกษาแนวโน้ม (Trend Studies)

จำแนกตามลักษณะของวิชาหรือศาสตร์

การวิจัยทางวิทยาศาสตร์
(Scientific Research)

การวิจัยทางสังคมศาสตร์
(Social Research)

จำแนกตามเวลาที่ใช้ในการทำวิจัย

การวิจัยแบบตัดขวาง/ระยะสั้น
(Cross-section Research)

การวิจัยแบบต่อเนื่อง
(Longitudinal Research)

จำแนกประเภทการวิจัยตามเป้าหมาย
หลักของการวิจัย

การวิจัยที่มุ่งบรรยายตัวแปร
(Descriptive-Oriented Research)

การวิจัยที่มุ่งอธิบายความสัมพันธ์
ระหว่างตัวแปร
(Correlation-Oriented Research)

การวิจัยที่มุ่งแสวงหาความเป็นเหตุเป็นผลระหว่างตัวแปร
(Causal-Oriented Research)

จำแนกตามการจัดกระทำ

การวิจัยแบบทดลองเบื้องต้น
(Pre-Experimental Research)

การวิจัยกึ่งทดลอง
(Quasi Experimental Research)

การวิจัยแบบทดลองที่แท้จริง
(True Experimental Research)

ขั้นตอนในการวิจัย

เลือกหัวข้อปัญหา

การกำหนดขอบเขตของปัญหา

การศึกษาเอกสารและผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

การกำหนดสมมุติฐาน

การสร้างเครื่องมือรวบรวมข้อมูล

ขั้นดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูล

การจัดกระทำข้อมูล

Input

Processing

Output

การสรุปผลการวิจัยและเขียนรายงาน

ตัวแปรและสมมติฐาน

ตัวแปร

ความหมายของตัวแปร

ลักษณะและชนิดของตัวแปร

ตัวแปรรูปธรรม (Concept)

ตัวแปรนามธรรม (Construct)

ตัวแปรเกิน (extraneous variable)

ตัวแปรสอดแทรก (intervening variable)

การนิยามตัวแปรและการหาข้อมูล
หรือข้อเท็จจริง

การหาข้อมูลหรือข้อเท็จจริง

การนิยามตัวแปร

การนิยามในลักษณะของการบอกองค์ประกอบ (Constitutive definition)

นิยามในลักษณะปฏิบัติการ
(Operational definition)

สมมติฐาน

ลักษณะของสมมติฐาน

เป็นข้อความที่กล่าวถึงความสัมพันธ์ของ
ตัวแปรตั้งแต่ 2 ตัวขึ้นไป

สามารถทดสอบความสัมพันธ์ของตัวแปรเหล่านี้ได้และส่วนใหญ่ต้องอาศัยวิธีการทางสถิติ

ประเภทของสมมติฐาน

สมมติฐานทางวิจัย
(research hypothesis)

สมมติฐานแบบมีทิศทาง
(directional hypothesis)

สมมติฐานแบบไม่มีทิศทาง
(Nondirectional hypothesis)

แหล่งที่มาของสมมติฐาน

ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

สนทนากับผู้มีความรู้ความเชี่ยวชาญในเรื่องนั้น

ประสบการณ์เบื้องต้นของผู้วิจัย

ได้ร่วมอภิปรายเกี่ยวกับปัญหาที่จะศึกษา
กับบุคคลอื่น ๆ

การสังเกตพฤติกรรม

ลักษณะของสมมติฐานที่ดี

สอดคล้องกับจุดมุ่งหมายของการวิจัย

อธิบายหรือตอบคำถามได้

ตอบคำถามเพียงข้อเดียวหรือประเด็นเดียว

สอดคล้องกับสภาพที่เป็นจริง

ต้องสมเหตุสมผลตามทฤษฎีและ
ความรู้ที่ได้จากการศึกษา

เขียนด้วยถ้อยคำที่อ่านเข้าใจง่าย
และมีความชัดเจน

สามารถตรวจสอบได้

มีขอบเขตพอเหมาะไม่แคบหรือกว้างไป

มีอำนาจในการพยากรณ์สูง

Haga clic aquí para centrar el diagrama.
Haga clic aquí para centrar el diagrama.