สังคมความรู้ (Knowledge Society)

3. ลักษณะสังคมแห่งการเรียนรู้

3.1 ไม่จำกัดขนาดและสถานที่ตั้ง

3.2 เน้นการจัดการเรียนรู้เป็นปัจจัยหลัก

3.3 ประชาชนได้รับโอกาสการพัฒนา (Key Individuals)

3.4 สถาบันทางสังคมในพื้นที่เป็นตัวหลักในการริเริ่ม ดำเนินการ (Key Institutions)

3.5 มีกลุ่มภาคประชาชนเป็นแกนกลาง (Core Groups) เพื่อรวมตัวกันจัดกิจกรรมพัฒนาชุมชน

3.6 มีการพัฒนานวัตกรรมและระบบการเรียนรู้

3.7 มีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการอย่างต่อเนื่อง

3.8 การริเริ่ม/การเปลี่ยนแปลงมีอยู่ตลอดเวลา

3.9 สถานศึกษาเป็นส่วนหนึ่งของชุมชนแห่งการเรียนรู้

3.10 ความรับผิดชอบเป็นหน้าที่ของบุคคลและชุมชนร่วมกัน

3.11 ทุกคนเป็นครูและผู้เรียน

4. ความรู้ (Knowledge)

4.1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ “ความรู้”

4.1.1 ความหมายของข้อมูล (Data)

1. ข้อมูลตัวเลข

2. ข้อมูลตัวอักษร

3. ข้อมูลกราฟิก

4. ข้อมูลภาพลักษณ์

5. ข้อมูลเสียง

4.1.2 ความหมายของสารสนเทศ

4.2 ความหมายของความรู้และประเภทของความรู้

1. ความรู้เกี่ยวกับสิ่งรอบตัวเรา

2. ความรู้ด้านภาษา

3. ความรู้ด้านวิชาการ

4. ความรู้ใหม่

5. กระบวนการจัดการความรู้

1. การบ่งชี้ความรู้

2. การสร้างและแสวงหาความรู้

3. การจัดความรู้ให้เป็นระบบ

4. การประมวลและกลั่นกรองความรู้

5. การเข้าถึงความรู้

6. การจัดการความรู้ในองค์กร

7. การเรียนรู้

1. นิยามหรือความหมายของสังคมความรู้ (Definition of Knowledge Society)

หมายถึง สังคมที่มีการเข้าถึงและใช้ประโยชน์จากเครือข่ายสารสนเทศสูง จากความรู้ที่มีบุคลากรทำงานโดยใช้ทักษะและความรู้สูง

2. ยุคของสังคมความรู้ (Knowledge Society Era)

2.1 สังคมความรู้ยุคที่ 1

1). Knowledge Access คือการเข้าถึงด้วยวิธีการต่างๆ

2). Knowledge Validation คือการประเมินความถูกต้องของความรู้

3). Knowledge Valuation คือการตีค่า การตีความรู้

4). Knowledge Optimization คือการทำความรู้ให้ง่ายที่จะใช้

5). Knowledge Dissemination คือการกระจายความรู้

สังคมความรู้ยุคที่ 2

1). มีการสะสมความรู้ภายในสังคม

2). มีการถ่ายโอนความรู้ภายในสังคม

3). มีการสร้างสรรค์ความรู้ใหม่ในสังคม

4). มีการประยุกต์ความรู้มาใช้ภายในสังคม

Klikkaa tästä keskittääksesi karttasi.
Klikkaa tästä keskittääksesi karttasi.