การประเมิน วิเคราะห์ สังเคราะห์สารสนเทศ

1. ลักษณะของสารสนเทศที่ดี

มีความถูกต้อง

น่าเชื่อถือ

มีความสมบูรณ์

สอดคล้องกับความต้องการ

เข้าถึงง่าย

ตรวจสอบได้

ทันสมัย

ทันต่อความต้องการใช้

2. หลักเกณฑ์ในการพิจารณาสารสนเทศที่ดี

พิจารณาความน่าเชื่อถือ

ความถูกต้อง

ความเที่ยงตรง

พิจารณาแหล่งที่มาของสารสนเทศ

พิจารณาผู้แต่ง

พิจารณาสำนักพิมพ์หรือแหล่งผลิต

พิจารณาขอบเขตเนื้อหา

เนื้อหาครบถ้วน

เนื้อหาครอบคลุมหัวข้อเรื่อง

เป็นสารสนเทศให้ความรู้ระดับใด

ถ้ามาจากเว็บไซต์ ให้ดูว่ามีการเชื่อมโยงรายละเอียดดีหรือเปล่า

พิจารณาให้ตรงกับความต้องการ

ต้องการตอบโจทย์อะไร

ต้องการสารสนเทศรูปแบบใด

ต้องการใช้สารสนเทศไปทำอะไร

พิจารณาช่วงเวลาที่เผยแพร่

เผยแพร่เมื่อใด

ความทันสมัย

ถ้ามาจากเว็บไซต์ ให้ดูเวลาเผยแพร่ดีๆ

3. การเลือกใช้สารสนเทศ

การประเมินสารสนเทศ

การวิเคราะห์สารสนเทศ

การสังเคราะห์สารสนเทศ

6. การสังเคราะห์

key point

การจัดสารสนเทศเป็นกลุ่มๆ

การจัดกลุ่มความสัมพันธ์

การวางโครงร่าง

การเขียนอ้างอิงและบรรณานุกรม

การนำเสนอสารสนเทศ

E-book

นิทรรศการ

เกม

รายงาน

บอร์ด

แผ่นพับ

โครงงาน

สไลด์

5. การวิเคราะห์สารสนเทศ

อ่านจับใจความ

พิจารณาสารสนเทศว่าสอดคล้องกับประเด็นที่จะศึกษาหรือเปล่า

บันทึกสารสนเทศ

จัดกลุ่มเนื้อหา

4. การประเมินสารสนเทศ

ประเมินความน่าเชื่อถือของแหล่งสารสนเทศ

ประเมินความน่าเชื่อถือของผู้เขียน ผู้จัดทำ สำนักพิมพ์

ประเมินความน่าเชื่อถือของทรัพยากรสารสนเทศ

ประเมินความทันสมัยของสารสนเทศ

หลัการประเมินสารสนเทศ (พิจารณาว่าสารสนเทศอยู่ระดับใด)

สารสนเทศปฐมภูมิ

สารสนเทศทุติยภูมิ

สารสนเทศตติยภูมิ

Floating topic

Subtopic

Klikkaa tästä keskittääksesi karttasi.
Klikkaa tästä keskittääksesi karttasi.