สังคมความรู้ Knowlege Society

ยุคของสังคมความรู้

สังคมความรู้ยุคที่ 1

เป็นสังคมความรู้ที่มีพลังและอ านาจอยู่ด้วยกัน เกิดการผลิต มี
ความสามารถในการแข่งขัน กลไกตลาด และความอยู่รอด ในยุคนี้นักวิชาการหรือนักวิชาชีพ จะมีบทบาทหลักในการจัดการความรู้ ใช้พลังของความรู้ มีความเป็นมืออาชีพการจัดการความรู้ หรือการพัฒนาความรู้ (Knowledge Management) เป็นอย่างมาก ซึ่งบุคคลเหล่านี้จะมีความสามารถ 5 ด้าน

1) Knowledge Access คือ การเข้าถึงความรู้ด้วยวิธีการต่างๆ

2) Knowledge Validation คือ การประเมินความถูกต้องของความรู้ ความรู้มีทั้งของจริงและของหลอก

3) Knowledge Valuation คือ การตีค่า การตีความรู้ ว่าเมื่อมีการใช้ความรู้นั้นแล้วมีความคุ้มค่าหรือไม่ ซึ่งในการตีค่าความรู้ที่มีหลักฐานถูกต้องตามหลักวิชาการแตไม่เหมาะสมที่จะนำมาใช้โดยส่วนใหญ่มีสาเหตุ

1)ความ ไม่คุ้มค่า หรือราคาแพงเกินกว่าผลประโยชน

2) ใช้สำหรับสิ่งที่ไม่จ าเป็น หรือฟุ่มเฟือย

3)ปฏิบัติจริงได้ยาก ขาดสิ่งจำเป็น

4)ขัดกับความคิด ความเชื่อ หรือ วัฒนธรรม

5)ไม่สร้างความยุติธรรม และศักดิ์ศรีมนุษย

4) Knowledge Optimization คือ การท าความรู้ให้ง่ายที่จะใช้ การนำความรู้ออกมาเป็นกฎเกณฑ์ ระเบียบต่าง ๆ ต้องมีพื้นฐานมาจากความรู้

5) Knowledge Dissemination คือ การกระจายความรู้ ปัจจุบันความรู้เป็นสมบัติสาธารณะที่ทุกคนสามารถเข้าถึงได้ อยู่ที่ความสามารถของแต่ละคนที่จะเข้าถึงความรู้การวิจัยหรือความรู้จึงเป็นเครื่องมือส าคัญในการสร้างพลังที่น าไปสู่ Empowerment ซึ่งความรู้ไม่ได้มีไว้ใช้เพียงอย่างเดียว แต่ความรู้น ามาสร้างเป็นพลังได้

สังคมความรู้ยุคที่ 2

เป็นสังคมความรู้แบบพอเพียง สมดุล บูรณาการ ประชาชนและทุก
ภาคส่วนมีบทบาทในการร่วมกันเป็นเจ้าของ และเป็นผู้ใช้ความรู้ให้เป็นพลังนักวิชาการ นักวิชาชีพมีบทบาทเป็น Knowledge Broker ทำให้เกิดเป็นวิจัยแบบบูรณา Knowledge Society การที่ผลงานวิจัยย่อย ๆ หลาย ๆงานวิจัยรวมตัวกันเพื่อแก้ปัญหาวิจัยย่อยและปัญหาใหญ่

ลักษณะสำคัญของสังคมความรู้ยุคที่ 2

1) มีการสะสมความรู้ภายในสังคม

2) มีการถ่ายโอนความรู้ภายสังคม

3) มีการสร้างสรรค์ความรู้ใหม่ในสังคม

4) มีการประยุกต์ความรู้มาใช้ภายในสังคม

ลักษณะสังคมแห่งการเรียนรู้

1 ไม่จำกัดขนาดและสถานที่ตั้ง

2 เน้นการจัดการเรียนรู้เป็นปัจจัยหลัก

3 ประชาชนได้รับโอกาสการพัฒนา (Key Individuals)

4 สถาบันทางสังคมในพื้นที่เป็นตัวหลักในการริเริ่ม/ดำเนินการ (Key Institutions)

5 มีกลุ่มภาคประชาชนเป็นแกนกลาง (Core Groups) เพื่อรวมตัวกันจัดกิจกรรมพัฒนาชุมชน

6 มีการพัฒนานวัตกรรมและระบบการเรียนรู้

7มีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการอย่างต่อเนื่อง

8 การริเริ่ม/การเปลี่ยนแปลงมีอยู่ตลอดเวลา

9 สถานศึกษาเป็นส่วนหนึ่งของชุมชนแห่งการเรียนรู้

10 ความรับผิดชอบเป็นหน้าที่ของบุคคลและชุมชนร่วมกัน

11 ทุกคนเป็นครูและผู้เรียน

กระบวนการจัดการความรู้

1.การบ่งชี้ความรู้ เป็นการพิจารณาว่าจะท าอย่างไรให้องค์กรบรรลุเป้าหมาย โดยจะคัดเลือกว่าจะใช้เครื่องมืออะไร และขณะนี้เรามีความรู้อะไรบ้าง

2.การสร้างและแสวงหาความรู้ ซึ่งสามารถทำได้หลายทาง

3.การจัดความรู้ให้เป็นระบบ เป็นการวางโครงสร้างความรู้ เพื่อเตรียมพร้อมสำหรับการเก็บ ความรู้อย่างเป็นระบบเพื่อการเรียกใช้งานได้อย่างรวดเร็วและถูกต้องในอนาคต

4.การประมวลและกลั่นกรองความรู้

5.การเข้าถึงความรู้ เป็นการท าให้ผู้ใช้ความรู้เข้าถึงความรู้ที่ต้องการได้ง่ายและสะดวก โดยการใช้พวกระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ(IT) หรือการประชาสัมพันธ์บน Web board

6.การจัดการความรู้ในองค์กรการแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้ ท าได้หลายวิธีการซึ่งจะแบ่งได้ สองกรณีได้แก่ Explicit Knowledge อาจจะจัดท าเป็นเอกสาร ฐานความรู้ และเทคโนโลยี สารสนเทศต่างๆ หรือ Tacit Knowledge จัดท าเป็นระบบ ทีมข้ามสายงาน กิจกรรมกลุ่มคุณภาพ และนวัตกรรม

7.การเรียนรู้ ควรท าให้การเรียนรู้เป็นส่วนหนึ่งของงาน เช่น การเรียนรู้จากสร้างองค์ความรู้
การนำความรู้ไปใช้ให้เกิดการเรียนรู้และประสบการณ์ใหม่ๆ และนำความรู้ที่ได้ไปหมุนเวียนต่อไป
อย่างต่อเนื่อง

นิยาม และ ความหมาย

สังคมความรู้ หมายถึง สังคมที่มีการเข้าถึง และ ใช้ประโยชน์จากเครื่อข่ายสารสนเทศสูง จากความรู้ที่มีบุคลากรโดยใช้ทักษะความรู้สูง

เป็นกระบวนการทางสังคมที่เกื้อหนุนส่งเสริมให้ บุคคลหรือสมาชิคในชุนชนหรือสังคม เกิดการเรียนรู้ผ่านสื่อเทคโนโลยี ทำให้เกิดพลังสร้างสรรค์ และ เป็นเครื่องมือในการตัดสินใจ และ พัฒนาอย่างเหมาะสมทางด้านต่างๆ

ความรู้

ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ “ความรู้”

ข้อมูล (Data)

ความหมายของข้อมูล (Data)

คือ สัญลักษณ์ที่ยังไม่ได้แปรความ

หมายถึง ข้อมูลดิบที่เกิดจากการทำงานประจำวัน ซึ่งถือว่าเป็นข้อมูลในระดับปฏิบัติการ

หมายถึง ข้อมูลเชิงบรรยาย หรือข้อมูลเชิงปริมาณเกี่ยวกับสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เหตุการณ์ใดเหตุการณ์หนึ่ง หรือเรื่องใดเรื่องหนึ่ง

หมายถึง บันทึกที่แสดงความเป็นไปหรือเป็นข้อเท็จจริงเกี่ยวกับเหตุการณ์หนึ่งๆ หรือเกี่ยวกับ คน สิ่งของ หรือ เรื่องใดเรื่องหนึ่ง

ประเภทของข้อมูล

1) ข้อมูลตัวเลขหรือข้อมูลเชิงจ านวน (Numeric Data)

2) ข้อมูลตัวอักษรหรือข้อมูลที่เป็นข้อความ (Text Data)

3) ข้อมูลกราฟิก (Graphical Data) เป็นข้อมูลเกี่ยวกับการสร้างภาพกราฟิก

4) ข้อมูลภาพลักษณ์ (Image Data) เป็นข้อมูลที่เกิดจากการถ่ายภาพกล้องดิจิตอล หรือ การสแกนเอกสารด้วยเครื่องสแกนเนอร์ ข้อมูลประเภทนี้จัดเก็บเป็นจุดภาพและไม่สามารถนำไปคำนวณได

5) ข้อมูลเสียง (Voice Data) คือ เสียงต่างๆ ได้แก่ เสียงสั่งงานคอมพิวเตอร์ หรือ เสียงพูด เสียงที่บันทึกไว้ฟัง

สนเทศ (Information)

ความหมายของสารสนเทศ (Information)

หมายถึง ข้อมูลที่ถูกมนุษย์วิเคราะห์และตีความแล้ว มีคุณค่าสูงกว่าข้อมูล เนื่องจากสามารถสื่อความหมายได้โดยมีความ
ครอบคลุมที่กว้างกว่า

หมายถึง แก่นหรือเนื้อหาที่สำคัญ ซึ่งได้มีการแจงแสดงออกให้ทราบ อาจเป็นข้อมูลหรือข้อเท็จจริง ข่าวสาร ความรู้เรื่องราวทั่วไป ความรู้ทางวิชาการหรือศาสตร์ ความรู้สึก ความคิด

คือข้อมูลที่ผ่านการจัดการและตีความหมายแล้วมี
คุณค่าต่อผู้รับเพื่อการนำไปใช้งาน

คือ การถ่ายทอดความรู้ของมนุษย์เพื่อการสื่อสารไป
ยังบุคคลอื่นทั้งในรูปแบบโสตวัสดุและทัศนวัสดุ

สรุปความหมายของสารสนเทศ

สารสนเทศ หมายถึง
ข้อมูล ข่าวสาร ข้อเท็จจริง ความรู้ต่างๆ ที่ผ่านการประมวลผลแล้วและสามารถนำมาใช้ประโยชน์ได้ โดยสารสนเทศนั้นบันทึกไว้ในรูปแบบของวัสดุตีพิมพ์ ซึ่งคือข้อเท็จจริงที่มีการค้นคว้าได้หลักฐานหรือเหตุผลชัดเจน และจัดเข้าเป็นระเบียบแล้ว สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้

ความรู้(Definition of Knowledge)

ความหมายของความรู้(Definition of Knowledge)

หมายถึง ส่วนผสมที่เกิดจาก ประสบการณ์การท างาน และประสบการณ์ที่เกิดขึ้นใหม่ที่พร้อมจะถูกนำไปใช้เพื่อการตัดสินใจและ
การกระทำต่างๆ

คือ การไหลเวียนของความรู้สึก ปฏิกริยาตอบกลับ
การตัดสินใจ สารสนเทศและกระบวนการเรียนรู้

คือ สิ่งที่ได้มาโดยการศึกษา ประสบการณ์
ทักษะ การอบรม การดูงาน หรืออาจเกิดจากการค้นหา

หมายถึงข้อเท็จจริงและ/หรือสารสนเทศทั้งใน
ด้านวิทยาศาสตร์ หลักการ

คือกระบวนการขัดเกลา เลือกใช้ และบูรณาการ การใช้สารสนเทศเหล่านั้นจนเกิดความรู้ใหม

คือสิ่งที่พิสูจน์ให้เห็น
ว่าเป็นการเพิ่มขีดความสามารถที่จะน ามาซึ่งประสิทธิภาพที่ดีกว่า

คือ ความสัมพันธ์เกี่ยวข้องโดยตรงระหว่างความเข้าใจ ตลอดจนการให้ข้อมูลข่าวสารที่ชัด

คือ กรอบของการประสมประสานระหว่างสถานการณ์ ค่านิยม ความรู้ในบริบทและ
ความรู้แจ้งอย่างชัดเจน

สรุปความหมายของคำว่าข้อมูล

ความรู้ หมายถึง ความเข้าใจในเรื่องบางเรื่องหรือสิ่ง
บางสิ่ง ซึ่งอาจจะรวมไปถึงความสามารถในการน าสิ่งนั้นไปใช้เพื่อเป้าหมายบางประการ โดยอาศัย Knowledge Society กระบวนการที่แปรผลมาจากข้อมูล สารสนเทศ การศึกษา ประสบการณ์ต่างๆ ที่สะสมในอดีต และ สามารถเพิ่มขึ้นได้อย่างไม่จำกัดในอนาคต

ประเภทรูปแบบความรู้(Type of Knowledge)

1) Tacit Knowledge ความรู้ที่ซ่อนอยู่ในแต่ละบุคคลหรือความรู้ที่ซ่อนเร้น เป็นความรู้ที่ได้จากประสบการณ์ ความเชี่ยวชาญหรือสัญชาติญาณของแต่ละบุคคลในการทำความเข้าใจในสิ่งต่างๆ

2) Explicit Knowledge ความรู้ที่เด่นชัดหรือความรู้ที่บันทึกไว้ เป็นความรู้ที่สามารถ
รวบรวม ถ่ายทอดได้ โดยผ่านวิธีต่างๆ

โดยที่ความรู้ทั้ง 2 ประเภทนี้มีวิธีการจัดการที่แตกต่างกัน การจัดการ “ความรู้เด่นชัด”
จะเน้นไปที่การเข้าถึงแหล่งความรู้ ตรวจสอบ และตีความได้ เมื่อน าไปใช้แล้วเกิดความรู้ใหม่ ก็นำมาสรุปไว้ เพื่อใช้อ้างอิง หรือให้ผู้อื่นเข้าถึงได้ต่อไป ส่วนการจัดการ “ความรู้ที่ซ่อนเร้น”

Subtopic

ระดะบของประเภทความรู้

1) ความรู้เกี่ยวกับสิ่งรอบตัวเรา

2) ความรู้ด้านภาษา

3) ความรู้ด้านวิชาการ

4) ความรู้ใหม่ คือ ความรู้ที่ไม่เคยมีมาก่อน

บทสรุป

Klikkaa tästä keskittääksesi karttasi.
Klikkaa tästä keskittääksesi karttasi.