FAUNDATION OF RESEARCH

ความหมาย

วิจัย = กระบวนการแสวงหาความรู้ที่มีระบบมีขั้นตอนชัดเจนปราศจากอคติ

จุดมุ่งหมาย

เป้าหมายของการวิจัย

หาคำตอบมาแก้ปัญหา ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรเป็นเหตุเป็นผลกัน

การวิจัยเป็นการเก็บรวบรวมข้อมูล

การวิจัยเป็นการสรุปผล

แนวคิดพื้นฐานของการวิจัย

กฎเหตุและผลของธรรมชาติ

กฎความเป็นระบบของธรรมชาติ

กฎความสัมพันธ์ของธรรมชาติ

กฎองค์ประกอบหลักของธรรมชาติ

กฎความน่าจะเป็นของธรรมชาติ

คุณลักษณะของการวิจัย

การแก้ปัญหาที่ช่วยบรรลุเป้าหมาย

พัฒนาข้อสรุป. หลักเกณฑ์ ที่นำไปใช้ในอนาคต

มีกระบวนการสังเกตุที่ถูกต้อง

เป็นการเก็บรวบรวมข้อมูลใหม่

มีระบบ วิธีการ แบบแผน

ดำเนินการโดยใช้ความรู้ ความชำนาญของผู้วิจัย

ต้องกำหนดวัตถุประสงค์

หาคำตอบมาตอบคำถาม

ดำเนินด้วยความอดทน ไม่เร่งรีบ

มีการจดบันทึก ทำรายงาน

ธรรมชาติของวิจัย

เป็นกระบวนการเชิงประจักษ์

ดำเนินการเป็นระบบ

มีจุดมุ่งหมายที่ชัดเจน

เที่ยงตรง

มีความเชื่อมั่น

มีเหตุผล

เป็นการแก้ปัญหา

มีการเก็บรวบรวมข้อมูลใหม่

มีวิธีการหลากหลาย

ต้องใช้ศักยภาพของผู้วิจัย

ประเภทของการวิจัย

จำแนกตามประโยชน์ที่ได้รับ

Basic Research

Applied Research

จำแนกตามลักษณะข้อมูล

Quantitative Research

Qualitative Research

จำาแนกตามระเบียบวิธีวิจัย

Historical Research

Descriptive Research

จำแนกตามลักษณะวิชา

Scientific Research

Social Research

จำแนกตามเวลาที่ใช้ทำวิจัย

cross section Research

Longitudinal Research

จำแนกตามเป้าหมาย

Descriptive Oriented Research

Correlation Oriented Research

Causal Oriented Research

จำแนกตามการจัดกระทำ

Pre Experimental Research

Quasi Experimental Research

True Experimental Research

ขั้นตอนในการทำวิจัย

เลือกหัวข้อปัญหา

กำหนดขอบเขตของปัญหา

การศึกษาเอกสาร

การกำหนดสมมุติฐาน

การเขียนเค้าโครงวิจัย

การสร้างเครื่องมือรวบรวมเครื่องมือ

ขั้นดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูล

การจัดกระทำข้อมูล

Input จัดเตรียมข้อมูลเพื่อการวิเคราะห์

Processing ขั้นตอนของการจัดแบ่งประเภทของข้อมูล

Output ขั้นตอนนำผลมาเขียนเป็นรายงาน

บทนำ

การตรวจสอบเอกสาร

วิธีการดำเนินการวิจัย

ผลการวิจัย

ตัวแปรและสมมติฐาน

ตัวแปร หมายถึง คุณสมบัติหรือปรากฏการณ์สิ่งต่างๆที่ผู้วิจัยต้องการจะศึกษาหาความจริง

Subtopic

ชนิดตัวแปร

ตัวแปรอิสระ

ตัวแปรตาม

ตัวแปรเกิน

ตัวแปรแทรกสอด

สมมติฐาน คือ คำตอบที่คาดการณ์ไว้ล่วงหน้าอย่างสมเหตุสมผล

ประเภทของสมมติฐาน

สมมติฐานทางวิจัย

แบบมีทิศทาง เป็นสมมติฐานที่เขียนโดยสามารถระบุได้แน่นอน

แบบไม่มีทิศทาง เป็นสมมติฐานที่เขียนโดยไม่สามารถระบุได้แน่นอน

แหล่งที่มาสมมติฐาน

การศึกษาเอกสารและงานวิจัย

การสนทนากับผู้มีความรู้

ประสบการณ์เบื้องต้นของผู้วิจัย

ร่วมอภิปรายกับปัญหา

การสังเกตพฤติกรรม

ลักษณะของสมมติฐานที่ดี

สอดคล้องกับจุดมุ่งหมายของการวิจัย

อธิบายหรือตอบคำตอบได้

สอดคล้องกับสภาพที่เป็นจริง

ต้องสมเหตุสมผล

เขียนด้วยถ้อยคำที่เข้าใจง่าย

สามารถตรวจสอบได้

มีขอบเขตพอเหมาะ