Knowledge Society

Definition of Knowledge Society

สังคมที่มีการเข้าถึงและการใช้ประโยชน์จากเครือข่ายสารสนเทศสูง จากความรู้ที่มีบุคลากรทำงานโดยใช้ทักาะและความรู้สูง

ลักษณะสังคมแห่งการเรียนรู้

1.ไม่จำกัดขนาดและสถานที่ตั้ง

2.เน้นการจัดการเรียนรู้เป็นปัจจัยหลัก

3.ประชาชนได้รับโอกาสการพัฒนา (Key Individuals)

สารสนเทศ (Information)

ข้อมูล ข่าวสาร ข้อเท็จจริง ความรู้ต่างๆ ที่ผ่านการประมวลผลแล้วและสามารถนามาใช้ประโยชน์ได้ โดยสารสนเทศนั้นบันทึกไว้ในรูปแบบของวัสดุตีพิมพ์

ความรู้ (Knowledge)

ความเข้าใจในเรื่องบางเรื่อง หรือสิ่งบางสิ่ง โดยอาศัยกระบวนการที่แปรผลมาจากข้อมูล สารสนเทศ การศึกษา ประสบการณ์ต่างๆ ที่สะสมในอดีต และ สามารถเพิ่มขึ้นได้อย่างไม่จากัดในอนาคตถ

ประเภทรูปแบบความรู้ (Type of Knowledge)

1. Tacit Knowledge ความรู้ที่ซ่อนอยู่ในแต่ละบุคคลหรือความรู้ท่ีซ่อนเร้น เป็น ความรู้ที่ได้จากประสบการณ์ ความเช่ียวชาญหรือสัญชาติญาณของแต่ละบุคคลในการทาความเข้าใจ ในสิ่งต่างๆ

2. Explicit Knowledge ความรู้ที่เด่นชัดหรือความรู้ที่บันทึกไว้ เป็นความรู้ที่สามารถ รวบรวม ถ่ายทอดได้ โดยผ่านวิธีต่างๆ

Knoeledge Society Era

สังคมความรู้ยุคที่ 1

เป็นสังคมความรู้ที่มีพลังและอำนาจอยู่ด้วยกัน เกิดการผลิต มีความสามารถในการเเข่งขัน กลไกตลาด และความอยู่รอด

Knowledge Validation คือ การประเมินความถูกต้องของความรู่้

Knowledge Access คือ การเข้าถึงความรู้ด้วยวิธีการต่างๆ ได้แก่ การเข้าถึงความรู้ทาง internet หรือ ICT Connectivity ต่างๆ

Knowledge Valuation คือ การตีค่า การการตีความรู้

Knowledge Optimization คือ การทำความรู้ให้ง่ายที่จะใช้ การนำความรู้ออกมาเป็นกฎเกณฑ์ ระเบียบต่าง ๆ

Knowledge Dissemination คือ การกระจายความรู้ ปัจจุบันความรู้เป็นสมบัติสาธารณะที่ทุกคนสามารถเข้าถึงไดh

สังคมความรู้ยุคที่ 2

เป็นสังคมความรู้แบบพอเพียง สมดุล บูรณาการ ประชาชนและทุกภาคส่วนมีบทบาทในการร่วมกันเป็นเจ้าของ และเป็นผู้ใช้ความรู้ให้เป็นพลัง มีความเป็นอิสระ

ลักษณะสำคัญของสังคมความรู้ยุคที่ 2

มีการสะสมความรู้ภายในสังคม

มีการถ่ายโอนความรู้ภายสังคม

มีการสร้างสรรค์ความรู้ใหม่ในสังคม

มีการประยุกต์ความรู้มาใช้ภายในสังคม

ข้อมูล ( Data )

กลุ่มของสัญลักษณ์ ข้อเท็จจริง ตัวเลข ข้อความ ภาพ และเสียงที่ยังไม่ผ่านกระบวนการประมวลผล วิเคราะห์หรือสังเคราะห์เพื่อนาไปใช้ประโยชน์

แบ่งออกเป็น 5 ประเภท

1.ข้อมูลตัวเลขหรือข้อมูลเชิงจานวน (Numeric Data)

2.ข้อมูลตัวอักษรหรือข้อมูลที่เป็นข้อความ (Text Data)

3.ข้อมูลกราฟิก (Graphical Data)

4.ข้อมูลภาพลักษณ์ (Image Data)

5.ข้อมูลเสียง (Voice Data)

กระบวนการจัดการความรู้ (Processes of Knowledge)

1.การบ่งชี้ความรู้ เ

2.การสร้างและแสวงหาความรู้

3.การจัดความรู้ให้เป็นระบบ

4.การประมวลและกลั่นกรองความร

5.การเข้าถึงความรู้

6.การจัดการความรู้ในองค์กรการแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้

7.การเรียนรู้ ควรทาให้การเรียนรู้เป็นส่วนหน่ึงของงาน

Kattintson ide a térkép középre állításához
Kattintson ide a térkép középre állításához