ความรู้พื้นฐานของการวิจัย
Foundation of Research
1.ความหมายของการวิจัย
กระนกระบวนการแสวงหาความรู้ที่มีระบบมีขั้นตอนชัดเจน ปราศจากอคติส่วนตัว สามารถตรวจสอบได้ที่ผู้วิจัยนำมาศึกษา ค้นคว้าข้อเท็จจริง เพื่อนำไปให้อธิบายปรากฎการณ์ทางสังคมหรือพัฒนาเป็นกฎทฤษฎี
2.จุดมุ่งหมายของการวิจัย
2.1เป้าหมายของการวิจัย คือ มุ่งหาคำตอบเพื่อนำไปแก้ปัญหาโดยศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรที่มีความเป็นเหตุและเป็นผลซึ่งกันและกันอย่างชัดเจน
2.2 การวิจัยเป็นการสรุปผล หากฎเกณฑ์ และทฤษฎีในการคาด
คะเนเหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต
2.3 การวิจัยเป็นการเก็บรวบรวมข้อมุล โดยที่ปัญหาในบางปัญหาไม่สามารถทำการวิจัยได้เองจากไdสามารถเyบรวบรวมข้อมูลได้
3. แนวคิดพื้นฐานของการวิจัย
แนวคิดพื้นฐานของการวิจัยมีดังนี้
3.1 กฎเหตุและผลของธรรมชาติ
เป็นแนวคิดที่ระบุว่าปรากฎการณ์ใดๆที่เกิดขึ้นนั้นจะสามารถแสวงหาสาเหตุที่ก่อให้ปรากฏกาณ์นั้นได้เสมอๆ
3.2 กฎความเป็นระบบของธรรมชาติ
เป็นแนวคิดที่ระบุว่าปรากฏการณ์ใดๆ ที่เกิดขึ้นตามกฎของเหตุและผลของธรรมชาติจะมีรูปแบบของความสัมพันธ์ของตัวแปรที่ค่อนข้างจะชัดเจน เพื่อที่ผูู้วิจัยจะได้นำรุปแบบดังกล่าวไปใช้อธิบายในปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นโดยทั่วๆไปได้
3.3 กฎความสัมพันธ์ของธรรมชาติ
เป็นแนวคิดที่ระบุว่าปรากฎการณ์ใดๆที่แตกต่างกันนั้นจะมีความมากน้อยของตัวแปรที่เป็นสาเหตุและตัวแปรผลที่แตกต่างกัน
3.4 กฎองค์ประกอบหากของธรรมชาติ
เป็นแนวคิดที่ระบุว่าตัวแปรสาเหตุและตัวแปรผลที่เกิดขึ้นมานนั้นๆไม่ได้เป้นความสัมพันธ์เชิงเดี่ยว แต่จะมีตัวแปรอื่นๆ ที่มักจะมาเกี่่ยวข้องอยู่เสมอๆ
3.5 กฎความน่าจะเป็นของธรรมชาติ
เป็นแนวคิดที่ระบุว่าในปรากฎการณ์ใดๆนั้นความรู้ความจริงที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ จะเป็นผลลัพธ์ของปรากฎการณ์ ที่มีความน่าจะเป็นในการเกิดขึ้นที่ค่อนข้างสูง
4. คุณลักษณะของการวิจัย
การวิจัยเป็นวิธีการ การหนึ่งที่มนุษย์ใช้เป็นเครื่องมือในการแสวงหาความรู้ความจริง ด้วยวิืธีการทางวิทยาศาสตร์ที่มีระบบและขั้นตอนชัดเจนและมีการกำหนดจุดมุ่งหมายของการวิจัย ในแต่ละครั้งอย่างชัดเจนว่าต้องการะไร ที่ผู้วิจัยจะใช้เป็นแนวทางในการแสวงหาคำตอบ
ขั้นตอนในการวิจัย
1.เลือกหัวข้อปัญหา
2.การกำหนดขอบเขตปัญหา
3.การศึกษาเอกสารและผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
4.การกำหนดสมมุติฐาน
5.การเขียนเค้าโครงวิจัย
6.การสร้างเครื่องมือรวบรวมข้อมูล
7.ขั้นดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูล
6. ประเภทของการวิจัย
6.1 จำแนกตามประโยชย์ที่ได้รับหรือเหตุผลในการวิจัย
6.2 จำแนกตามลักษณะของข้อมูล
6.4 จำแนกตามลักษณะของวิชาหรือศาสตร์
6.3 จำแนกตามระเบียบวิธีวิจัย
6.5 จำแนกตามเวลาที่ใช้ในการวิจัย
6.6 จำแนกประเภทของการวิจัยตามเป้าหมายหลักของการวิจัย
6.7 ประเภทของการวิจัยแนกตามการกระทำ
5. ธรรมชาติของการวิจัย
5.1 การวิจัยเป็นกระบวนการเชิงประจักษ์
การวิจัยเป็นการดำเนินการที่เป็นระบบ
5.3 การวิจัยมีจุดมุ่งหมายที่ชัดเจน
5.4การวิจัยมีความเที่ยงตรง
5.5 การวิจัยมีความเชื่อมั่น
5.6 การวิจัยมีเหตุผล
5.7 การวิจัยเป้นการแก้ปัญหา
5.8 การวิจัยมีการเก็บรวบรวมข้อมูลใหม่
5.9 การวิจัยมีวิธีการที่หลากหลายย
5.10 การวิจัยใช้ศักยภาพของผู้วิจัย