
สังคมความรู้ ( Knowledge Society )
ความหมาย ( Definition )
กระบวนการทางสังคมที่ส่งเสริมให้สมาชิก
เกิดการเรียนรู้ผ่านสื่อและเทคโนโลยี
สารสนเทศต่างๆจนสามารถสร้างความรู้และ
ทักษะ มีการจัดการเรียนรู้พร้อมกัน
แลกเปลี่ยนกันภายในสังคม มีการใช้ความรู้
ในการแก้ปัญหาและพัฒนา
อย่างเหมาะสมในด้านเศรษฐกิจ สังคม
การเมือง
ยุคของสังคมความรู้ ( Knowledge Society Era )
ยุคที่ 1
พลังและอำนาจอยู่ร่วมกัน เกิดการผลิต
เเข่งขัน กลไกการตลาดและความอยู่รอด
นักวิชาการหรือนักวิชาชีพมีความสามารถ
ในการพัฒนาความรู้ 5 ด้าน
Knowledge Access : การเข้าถึงความรู้

Internet
ICT Connectivity : เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
Knowledge Validation : การประเมินความถูกต้องของความรู้
เป็นเครื่องสำคัญที่บอกว่าข้อมูลถูกต้องหรือไม่
Knowledge Valuation : การตีค่าความรู้
เมื่อมีการใช้ความรู้นั้นเเล้วมีความคุ้มค่าหรือไม่
สาเหตุที่หลักฐานถูกต้องเเต่ไม่เหมาะสมที่จะนำมาใช้
ไม่คุ้มค่ากับผลประโยชน์
ใช้สำหรับสิ่งที่ไม่จำเป็น
ปฏิบัติจริงได้ยาก
ขัดกับความคิด ความเชื่อและวัฒนธรรม
ไม่สร้างความยุติธรรมเเละศักดิืศรีมนุษย์
Knowledge Optimization : การทำความรู้ให้ง่ายที่จะใช้
การทำคู่มือต่างๆ
Knowledge Dissemination : การกระจายความรู้
ขึ้นอยู่กับความสามารถของเเต่ละบุคคล
เครื่องมือสำคัญที่นำไปสู่การสร้างพลัง ( Empowerment )
ยุคที่ 2
พอเพียง สมดุล บูรณาการ
ประชาชนมีส่วนร่วมเป็นเจ้าของและผู้ใช้ความรู้ มีอิสระเเละพึ่งพาตัวเอง
นักวิชาการ นักวิชาชีพมีบทบาทเป็นผู้อำนวยความสะดวกในการจัดการเรียนรู้
( Knowledge Broker / Knowledge Facilitator )
ทำหน้าที่ส่งเสริมให้มีการแลกเปลี่ยนความรู้ระหว่างผู้มีความรู้
เเละผู้ต้องการเรียนรู้เพื่อให้เกิดการจัดการความรู้อย่างเป็นระบบ
วิจัยแบบบูรณาการ
ลักษณะสำคัญ
Collect Knowledge
สะสมความรู้
Knowledge Transfer
ถ่ายโอนความรู้
Knowledge Creation
สร้างสรรค์ความรู้ใหม่
Applied Knowledge
ประยุกต์ความรู้มาใช้
Main topic
ความรู้ ( Knowledge )
ความสัมพันะ์ระหว่างข้อมูล สารสนเทศและความรู้
Data : ข้อมูล
ความหมาย
กลุ่มของสัญลักษณ์ ข้อเท็จจริง ตัวเลข ข้อความ
ภาพ และเสียงที่ยังไม่ผ่านกระบวนการประมวลผล วิเคราะห์หรือสังเคราะห์เพื่อน าไปใช้ประโยชน
ประเภท
Numeric Data : ตัวเลข
Text Data: ตัวอักษรหรือข้อความ
Image Data : ภาพลักษณ์
Graphical Data : กราฟฟิก
Voice Data : เสียง
Information : สารสนเทศ
ความหมาย
ข้อมูล ข่าวสาร ข้อเท็จจริง ความรู้ต่างๆ ที่ผ่านการประมวลผลแล้วและสามารถ
นำมาใช้ประโยชน์ได้
วิชาความรู้ซึ่งคือข้อเท็จจริงที่มีการค้นคว้าได้หลักฐานหรือเหตุผลชัดเจน และจัดเข้าเป็นระเบียบแล้วสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้
รูปแบบการบันทึก
วัสดุตีพิมพ์
หนังสือ
วารสาร
หนังสือพิมพ์
แผ่นพับ
จดหมายเหตุ
จุลสาร
วัสดุไม่ตีพิมพ์
ภาพยนตร์
วิดีทัศน์
อินเทอร์เน็ต
Knowledge : ความรู้
ความหมาย
ความเข้าใจในเรื่องบางเรื่อง หรือสิ่งบางสิ่ง ซึ่งอาจจะรวมไปถึงความสามารถในการน าสิ่งนั้นไปใช้เพื่อเป้าหมายบางประการ โดยอาศัยกระบวนการที่แปรผลมาจากข้อมูล สารสนเทศ การศึกษา ประสบการณ์ต่างๆ ที่สะสมในอดีต และ
สามารถเพิ่มขึ้นได้อย่างไม่จ ากัดในอนาคต
ประเภท
2 ประเภท
Tacit Knowledge
ความรู้ที่ซ่อนเร้นในเเต่ละบุคคลหรือ ความรู้แบบนามธรรม
ประสบการณ์
ความเชี่ยวชาญหรือสัยชาติญาณ
ความรู้ที่อธิบายได้เเต่ไม่สามารถถ่ายทอดเป็นลายลักษณ์อักษรได้
ตัวอย่าง
ทักษะในการทำงาน งานฝีมือ การคิดเชิงวิเคราะห์
วิธีการจัดการความรู้
จัดเวทีเพื่อให้มีการเเบ่งปันความรู้ เกิดการเรียนรู้ร่วมกันเเละสร้างความรู้ใหม่
ที่เเต่ละคนสามารถนำไปปฏิบัติได้ต่อไป
Explicit Knowledge
ความรู้เด่นชัด ที่บันทึกไว้ หรือความรู้รูปธรรม
รวบรวม ถ่ายทอดได้โดยผ่านวิธีการต่างๆ
ฐานข้อมูล
ระบบผู้เชี่ยวชาญ
รายงาน
ทฤษฎี
คู่มือต่างๆ
วิธีการจัดการความรู้
ที่การเข้าถึงแหล่งความรู้ ตรวจสอบ และตีความได้ เมื่อน าไปใช้แล้วเกิดความรู้ใหม่ ก็น ามา
สรุปไว้ เพื่อใช้อ้างอิง หรือให้ผู้อื่นเข้าถึงได้ต่อไป
4 ระดับ
สิ่งรอบตัว
มองเห็น ได้ยิน ได้กลิ่น ได้ลิ้มรส
ภาษา
อ่านเเละเขียนหนังสือได้ ฟังเข้าใจ
ดูโทรทัศน์รู้เรื่อง
ถ่ายทอดภูมิปัญญาท้องถิ่น
วิชาการ
เกิดจากการศึกษาเล่าเรียน
เกิดจากการเรียนรูืจากครู เอกสาร ตำราวิชาการต่างๆ
ความรู้ใหม่
เกิดจากการค้นคว้าวิจัย
การคิดค้นกระบวนการใหม่ๆ เพื่อให้เกิดการพัฒนา
ลักษณะสังคมเเห่งการเรียนรู้
( Society Knowledge แharacteristics )
Unlimited places and size
ไม่จำกัดขนาดและสถานที่ตั้ง
Learning Management
เน้นการจัดการเรียนรู้
Key Individuals
ประชาชนได้รับโอกาสการพัฒนา
Key Institutions
ดำเนินการโดยสบาบันทางสังคมในพื้นที่
Core Groups
ประชาชนเป็นเเกนกลางในการรวมตัวเพื่อพัฒนาชุมชน
Innovation and Learning
System Development
พัฒนานวัตกรรมและการเรียนรู้
มีภาคีเครือข่ายที่รวมดำเนินการอย่างต่อเนื่อง
Initiative/Change
การริเริ่ม / การเปลี่ยนเเปลงมีอยู่ตลอดเวลา
Learning Community
สถานศึกษาเป็นส่วนหนึ่งของชุมชนแห่งการเรียนรู้
Responsibility
ความรับผิดชอบเป็นหน้าที่ของบุคคลและชุมชนร่วมกัน
กระบวนการจัดการความรู้ ( Processes of Knowledge )
Identify : การบ่งชี้ความรู้
เป็นการพิจารณาว่าจะ
ทำอย่างไรให้องค์กร
บรรลุเป้ าหมาย
Create & Inquiry : การสร้างและเเสวงหาความรู้
สร้างความรู้ใหม่
แสวงหาความรู้จากภายนอก
รักษาความรู้เก่า
กำจัดความรู้ที่ใช้ไม่ได้เเล้ว
System : การจัดความรู้ให้เป็นระบบ
วางโครงสร้างความรู้
เรียกใช้งานได้อย่างรวดเร็วและถูกต้อง
Processing : การประมวลและกลั่นกรองความรู้
การปรับปรุงรูปแบบเอกสารให้เป็นมาตรฐาน ใช้ภาษาเดียวกัน และปรับปรุงเนื้อหาให้สมบูรณ์และเหมาะสม
Access : การเข้าถึงความรู้
การเเบ่งปันเเละเเลกเปลี่ยนความรู้

ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ (IT)

การประชาสัมพันธ์บน Web board
Sharing :การจัดการความรู้ในองค์กรการแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้
Explicit Knowledge
เอกสาร
ฐานความรู้
เทคโนโลยีสารสนเทศ
Tacit Knowledge

ระบบทีมข้ามสายงาน
กิจกรรมกลุ่มคุณภาพและนวัตกรรม
ชุมชนเเห่งการเรียนรู้
ระบบพี่เลี้ยง
การสับเปลี่ยนงาน
การยืมตัว

เวทีการเเลกเปลี่ยนความรู้
To learn : การเรียนรู้
เรียนรู้จากองค์ความรู้
การนำความรู้ไปใช้ให้เกิดการเรียนรู้และประสบการณ์ใหม่ๆ
นำความรู้ที่ได้ไปหมุนเวียนต่อไป
อย่างต่อเนื่อง