สารสนเทศ
หลักเกณฑ์การพิจารณาสารสนเทศที่ดี
ความน่าเชื่อถือ
แหล่งที่มา
ขอบเขตเนื้อหา
ตรงความต้องการ
ช่วงเวลาเผยแพร่
การเลือกใช้เพื่อทำรายงาน
1.การประเมิณสารสนเทศ สามารถตรวจสอบได้และตอบคำถามได้ทุกคำถาม
หลักการประเมิณ
ตรงความต้องการ
น่าเชื่อถือหรือไม่
ทรัพยากรสารสนเทศ
ความทันสมัย
รูปแบบการประเมิณ
ปฐมภูมิ ต้นฉบับเพื่อเผยแพร่เนื้อหา
ทุติยภูมิ นำปฐมภูมินำมาเขียนใหม่ เช่น บทคัดย่อ
ตติยภูมิ ชี้แนะแหล่งสารสนเทศ 2 ประเภทโดยไม่ให้เนื้อหาโดยตรง เช่น บรรณานุกรม
2.วิเคราะห์สารสนเทศ แยกแยะเพื่อจักกลุ่มให้สัมพันธ์กัน
กระบวนการ
1.อ่านเนื้อหาแล้ววิเคราะห์ว่าสามารถใช้ได้จริง
2.ดึงเนื้อหาที่สอดคล้องแนวคิดที่ต้องการศึกษา
3.บันทึกเนื้อหาโดยใช้บัตรบันทึก
4.นำบัตรบันทึกจัดกลุ่มตามประเด็นแนวคิดเพื่อเรียบเรียงเนื้อหา
วิธีเขียนบัตรบันทึก
1.ย่อความสรุป โดย อ่าน วิเคราะห์ รวบรวม อย่างกระชับ
2.คัดลอกข้อความ โดยใช้คำจำกัดความ , สูตร , สาระสำคัญ , คติเตือนใจ
3.ถอดความ จากต้นฉบับ ร้อยแก้ว ภาษาต่างประเทศ
3.สังเคราะห์ข้อมูลสาระสนเทศ จัดกลุ่มสารสนเทศที่ได้แล้วนำไปเสนอ
ขั้นตอน
จัดกลุ่มข้อมูลแนวคิดเดียวกัน
จักลักษณะโครงร่าง
เห็นความสัมพันธ์กลุ่มข้อมูล
สรุปให้ได้เนื้อหาตามภาษาตัวเอง
นำเสนอเช่นมายแมพหรือเกมส์ เพื่อจัดระเบียบความรู้อย่างเป็นระบบ
ถามตอบข้อมูล
นำไปใช้ตามต้องการ
ลักษณะสารสนเทศที่ดี
มีความถูกต้อง
น่าเชื่อถือ
มีความสมบูรณ์
สอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้
เข้าถึงได้ง่าย
ตรวจสอบได้
ทันต่อความต้องการใช้
มีความทันสมัยเป็นปัจจุบัน