มโนทัศน์พื้นฐานของการวิจัย

วิธีการทางวิทยาศาสตร์

การเกิดปํญหา

กำหนดประเด็นปัญหาให้ชัดเจน

การตั้งสมมติฐาน

รวบรวมข้อมูลเพื่อทดสอบสมมติฐาน

การสรุปผล

มนุษย์

สิ่งที่เกิดขึ้น

ปรากฏกาารณ์

ความจริง

สภาะแวดล้อม

ศาสตร์

ศัพท์เฉพาะ

องค์ความรู้

วิธีแสวงหาความรู้

จุดมุ่งหมายการแสวงหาความจริง

อธิบาย (Explain)

ควบคุม (Control)

ทำนาย (Predict)

บรรยาย (Describe)

ลักษณะวิจัยทางสังคมศาสตร์

เป็นระบบ

มีเหตุผล

มีจุดมุ่งหมายแน่ชัด

มีความระมัดระวังรอบอคอบ และแม่นยำ

สามารถทำซ้ำกันได้

ข้อจำกัดของการใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์ในสังคมศาสตร์

ความซับซ้อน

ความยุ่งยาก

ปฏิสัมพันธ์ระหว่าผุ้สังเกตกับสิ่งที่ศึกษา

ปัญหาการวัด

ความหมายเบื้องต้น

การค้นหาข้อเท็จจริงหรือสารสนเทศอย่าง
รอบคอบระมัดระวัง

การค้นหาหรือตรวจสอบอย่างละเอียดหรือ
การค้นคว้าทดลอง โดยมีเป้ าหมายเพื9อค้นพบข้อเท็จจริงใหม่

มนุษย์เรียนปรากฏการณ์ได้อย่างไร

ประสบการณ์ (Experience)

การบอกเล่าของผู้ทรงอิทธิพล (Authority)

การคิดอ้างเหตุผล(Thinking & Reasoning)

การหยั่งรู้ (Intuition)

ความจริง

นักเหตุผลนิยม (รับรู้และเชื่อถื่อว่าจริงโดยใช้เหตุผล)

นักประสบการณ์นิยม (มีหลักฐานรับรูด้วยประสาทสัมผัส)

ศิลปินและนักศาสนา (รับรู้ด้วยความรู้สึก)

การวิจัยทางสังคมศาสตร์

กำหนดประเด็นปัญหา

ศีกษาวรรณกรรม

พัฒนากรอบแนวคิด

ออกแบบวิจัย

รวบรวมข้อมูล

ประมวลผล

สรุปและรายงานผล

จรรยาบรรณนักวิจัย

ซื่อสัตย์

มีความรับผิดชอบ

เปิดกว้าง

มีความยุติธรรม

ปฏิบัติตนเปนแบบอย่างที่ดี