การสืบค้นสารสนเทสและความรู้
ฐานข้อมูลออนไลน์
เป็นแหล่งสารสนเทศที่มีขนาดใหญ่และ ขอ บเข ตก ว้า งข วา ง ซ่ึ งผ ู้ จัด ท า ไ ด้ จัด ท า ข้ึน เพื่ อใ ห้บ ริก าร ส า หร ั บผู้ ที่ต้ อ งกา รส ื บค้ น ส า รส น เท ศ โด ยไ ม่ มีข้อจากัดในด้านระยะทาง ไม่ว่าจะอยู่ท่ีไหนก็ตาม นอกจากนั้นผู้ใช้บริการยังสามารถดาวน์โหลดหรือพิมพ์ข้อมูลได้ในทันที ในปัจจุบันห้องสมุดหรือศูนย์สารสนเทศขนาดใหญ่ๆ เช่น ห้องสมุด สถาบันอุดมศึกษา จะมีฐานข้อมูลออนไลน์ไว้บริการผู้ใช้อยู่ 2
2.1 ฐานข้อมูลออนไลน์ที่ห้องสมุดหรือศูนย์สารสนเทศบอกรับเป็นสมาชิก คือฐานข้อมูล ออนไลน์ที่ห้องสมุดหรือศูนย์สารสนเทศนั้นๆ
2.2 ฐานข้อมูลสานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา หรือ ฐานข้อมูล ThaiLIS (Thai
Library Integrated System) เป็นฐานข้อมูลที่สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา และ โครงการ
การสืบค้นสารสนเทศบนอินเตอรืเน็ต
อินเทอร์เน็ตเป็นแหล่งรวบรวมเว็บไซต์ซึ่งเก็บข้อมูลต่างๆไว้มากมาย แต่ละเว็บไซต์จะมี ชื่อโดเมน (Domain name) ที่ไม่ซ้ากัน และมีมากกว่า 45 ล้านชื่อในโลก โดยเรียกคอมพิวเตอร์ท่ี จัดเก็บ และคอยให้บริการข้อมูลของเว็บไซต์ว่าเว็บเซิร์ฟเวอร์ (Web Server) หรือเว็บไซต์โดยอาศัยโปรแกรม Web Browser
1. นามานุกรม (Web Directories) เป็นเครื่องมือในการสืบค้นที่รวบรวมสารสนเทศ บนอินเทอร์เน็ต และคัดแยกสารสนเทศเหล่านั้นออกเป็นกลุ่ม ตามสาขาวิชาหรือตามหลักเกณฑ์ท่ี ผู้จัดทากาหนดขึ้น
2. เครื่องมือสืบค้น (Search engine) เป็นเครื่องมือในการสืบค้นที่อาศัยการทางาน ของโปรแกรมที่พัฒนาขึ้น โดยแต่ละตัวได้รับการพัฒนาจากบุคคลหลายๆ หน่วยงาน มีผลให้ Search Engine แต่ละตัวมีลักษณะที่แตกต่างกันออกไป ทั้งในด้านฐานข้อมูลที่ครอบคลุมและ วิธีการทาดรรชนีช่วยค้น
เทคนิคการสืบค้นสารสนเทศจากอินเทอร์เน็ต
เทคนิคตรรกบูลลีน
เทคนิคการตัดคา
เทคนิคการใช้คาใกล้เคียง
เทคนิคการใช้รหัสกากับคาค้น
เทคนิคอ่ืนๆ
การสืบค้นสารสนเทศจากฐานข้อมูลบรรณานุกรมออนไลน์
OPAC เป็นรูปแบบหนึ่งของเครื่องมือช่วยค้นทรัพยากรสารสนเทศ ของห้องสมุดหรือศูนย์สารสนเทศซึ่งปรับเปลี่ยนจากรูปแบบบัตรรายการในตู้บัตรรายการมาเป็น ระเบียนบรรณานุกรมในฐานข้อมูลคอมพิวเตอร์
การสืบค้นสารสนเทศจาก OPAC ผู้สืบค้นมีทางเลือกในการสืบค้นหลายทาง เช่น ชื่อผู้ แต่ง ชื่อเรื่อง หัวเรื่อง คาสาคัญ เลขเรียกหนังสือ เป็นต้น ซึ่งผู้สืบค้นทราบข้อมูลส่วนใด ก็เพียง เลือกทางเลือกในการสืบค้น และพิมพ์คาค้นลงไป ระบบจะดาเนินการสืบค้น เมื่อพบรายการที่ ต้องการ ระบบจะแสดงผลออกมา
1.1 วิธีการสืบค้นโดยใช้ทางเลือกต่างๆ ใน OPAC
ป้อนข้อมูลที่ต้องการสืบค้นตามรายการที่ใช้เป็นทางเลือก
1.2 ข้อมูลที่ได้จากการสืบค้นด้วย OPAC
ลักษณะของผลลัพธ์ที่ได้จากการสืบค้นด้วย OPAC ส่วนใหญ่จะให้ข้อมูล 2 ลักษณะ ได้แก่ ข้อมูลบรรณานุกรม (Bibliographic) ของทรัพยากรสารสนเทศที่ตีพิมพ์และไม่ตีพิมพ์ และ ข้อมูลดรรชนีและสาระสังเขป (Index & abstract) ของบทความในวารสารและหนังสือพิมพ์ ซ
องค์ประกอบของกลไกการสืบค้นสารสนเทศบนอินเทอร์เน็ต (Search Engine)
ตัวสารวจหรือรวบรวมข้อมูล (Spider หรือ Crawler หรือ Robot) เป็นซอฟต์แวร์ สาหรับสารวจเว็บ โดยจะทาหน้าท่ีตระเวณไปยังเว็บไซต์ต่างๆ
ตัวดรรชนี (Indexer) หรือ Catalog ซ่ึงเป็นฐานข้อมูลทาหน้าที่รวบรวมคา และ ตาแหน่งทุกๆ เพจที่ตัวสารวจรวบรวมมาได้
โปรแกรมค้นข้อมูล (Search Engine Software หรือ Query Processor) ทา หน้าท่ีเปรียบเทียบความเก่ียวข้องระหว่างเว็บไซต์และความต้องการของผู้สืบค้นว่ามี ความเก่ียวข้องมากน้อยเพียงใด
Subtopic