ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฏหมาย
ประเภทของกฏหมาย
แบ่งตามรูปแบบที่ปรากฏ
แบ่งตามบุคคลที่เป็นวัตถุแห่งความสัมพันธ์
แบ่งตามลัการะของเนื้อหา
แบ่งตามพื้นที่ที่ใช้บังคับ
ทำไมจึงต้องศึกษากฏหมาย
ไม่ให้สังคมเกิดความวุ่นวายจึงต้องมีกฏเกณฑ์ควบคุม
กฏหมายมีความเกี่ยวข้องกับมนุษย์ทุกคน
เราจำเป็นต้องใช้กฏหมายเพื่อให้ทราบถึงสิทธิหย้าที่ของตนเองเพื่อให้ปฏิบัติตามกฏหมายได้อย่างถุกต้อง
กฏหมายคืออะไร
กฏเกณฑ์ที่กำหนดความประพฤติของบุคคล
เป็นสภาพบังคับโดยเจ้าหน้าที่ระบบกฏหมาย
กฏหมายต้องมีลักษระเป็นกฏเกณฑ์
กฏหมายต้องกำหนดความประพฤติของบุคคล
กฏหมายต้องมีสภาพบังคับ อาจเป็นผลร้าย และ อาจเป็นผลดี
กฏหมายต้องมีกระบวนการที่แน่นอน
กฏหมายสารบัญญัติ
กฏหมายที่บัญญัติถึงเนื้อหา วิทธิ หน้าที่ ข้อห้าม หรืออาจกล่าวได้ว่าเป็นกฏหมายที่ควบคุมความประพฤติของบุคคลโดยตรง
กฏหมายวิธีสบัญญัติ
กฏหมยที่บัญญัติถึงกระบวนการในการยุติข้อพิพาก
กฏหมายในประเทศ
ใช้กับคนในประเทศ
กฏหมายระหว่างประเทศ
เป็นกฏหมายที่มีหลายประเทสเข้ามาเกี่ยวข้อง
แผนกคดีเมือง
แผนกคดีบุคคล
แผนกคดีอาญา
กฏหมายลายลักษณ์อักษร
รัฐธรรมนูญ
กฏหมายที่ใช้ปกครองประเทศ ประชาชนมีส่วนร่วมในการร่าง
ไม่มีกฏหมายใดขัดแย้งได้
พ.ร.บ ประกอบรัฐธรรมนูญ
ขยายบทบัญญัติในรัฐธรรมนูญ
พระราชบัญญัติ พ.ร.บ
กษัตริย์ตราขึ้นโดยคำแนะนำและความยินยอมต่อรํฐสภา
พระราชกำหนด (พ.ร.ก.)
กษัติร์ตราขึ้นโดยคำแนะนำและความยินยอมของรัฐมนตรี
ต้องมีความจำเป้น
พระราชกฤษฏีกา
กษัติร์ตราขึ้นโดยคำแนะนำของคณะรัฐมนตรี
กระทรวง
รัฐมนตรีผู้รักษาตามกฏหมายแม่บท
กฏหมายที่ตราโดยกรมปกครองส่วนท้องถิ่น
เพื่อใช้บังคับในท้องถิ่นของตน
กฏหมายเอกชน
กฏหมายสังคม
กฏหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง
กฏหมายอาญา
กฏหมายมหาชน
กฏหมานรัฐธรรมนูญ
กฏหมายการปกครอง
กฏหมายการคลังและภาษีอากร
ศักดิืหรือลำดับชั้นของกฏหมาย
1 รัฐธรมมนูญ
2 พ.ร.บ. ประกอบรัฐธรรมนุญ
3 พระราชบัญญัติ / พระราชกำหนด
4 พระราชกฤษฏีกา
5 กฏกระทรวง
6 ข้อบัญญัติองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น