(Evaluate, Analysis, Synthesis)
2. หลักเกณฑ์ในการพิจารณาสารสนเทศที่ดี
1. พิจารณาความนาเชื่อถือ
2. พิจารณาแหล่งที่มาของสารสนเทศ
3. พิจารณาขอบเขตเนื้อหา
4. พิจารณาให้ตรงกับความต้องการ
5. พิจารณาช่วงเวลาที่เผยแพร่
3. การเลือกใช้สารสนเทศ
1. การประเมินสารสนเทศ (Evaluate)
2. การวิเคราะห์สารสนเทศ (Analysis)
3. การสังเคราะห์สารสนเทศ (Synthesis)
6 การสังเคราะห์
การจัดกลุ่มข้อมูลเรื่องเดียวกัน หรือแนวคิดเดียวกันไว้
ด้วยกัน
▪ แล้วน ามาจัดกลุ่มอีกครั้ง ในลักษณะล าดับชั้น หรือ
รูปแบบของโครงร่าง (outline)
▪ ซึ่งจะทำให้เห็นความสัมพันธ์ของกลุ่มข้อมูล
▪ แล้วรวบรวมหรือสรุปให้ได้ข้อมูล/เนื้ อหาใหม่ ด้วยการใช้
ส านวน ภาษาของตนเองที่มีความถูกต้อง
▪ ตลอดจนน าเสนอในรูปแบบที่เหมาะสม
▪ เพื่อแก้ไขปัญหา ตอบค าถามที่ก าหนดไว้
▪ หรือน าไปใช้ได้ตรงกับความต้องการ
1. ลักษณะของสารสนเทศที่ดี
▪ ต้องมีความความถูกต้อง (Accuracy)
▪ มีความน่าเชื่อถือ (Reliable)
▪ ต้องมีความสมบูรณ์ (Completeness)
▪ สอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้ (Relevance)
▪ เข้าถึงได้ง่าย (Accessible)
▪ ตรวจสอบได้ (Verifiability)
▪ ทันต่อความต้องการใช้ (Timeliness)
▪ มีความทันสมัย เป็ นปัจจุบัน (Up to date)
4 การประเมินสารสนเทศ
พิจารณาว่าเป็นเรื่องที่ตรงกับความต้องการอย่างแท้จริงหรือไม่
พิจารณาว่าเป็นสารสนเทศที่มีความน่าเชื่อถือหรือไม่
5 การวิเคราะห์สารสนเทศ
การวิเคราะห์สารสนเทศ หมายถึง
กระบวนการ แยกแยะสารสนเทศที่สำคัญ
และสอดคล้องกับเรื่องที่ต้องการออกเป็นกลุ่มย่อยๆ โดยให้สารสนเทศที่มี เนื้อาเดียวกัน หรือค้นได้จากคำสำคัญเดียวกันอยู่ด้วยกัน