สถิติเพื่อการวิจัย
คำว่าสถิติ (Statistics) มำจำกภำษำเยอรมัน
ว่ำ Statistics มีรำกศัพท์มำจำก Stat หมำยถึง
ข้อมูลหรือสำรสนเทศ ซึ่งจะอ ำนวยประโยชน์ต่อ
กำรบริหำรประเทศในด้ำนต่ำงๆ เช่น กำรทำ
สำมะโนครัวเพื่อจะทรำบจำนวนพลเมือง
นามบัญญัต
เป็ นระดับกำรวัดที่หยำบที่สุด จัดข้อมูล
หรือตัวแปรออกเป็ นกลุ่ม เช่น เพศ
อำชีพ เป็ นต้น
1. จัดเป็ นกลุ่มได้
เช่น ตัวแปรเพศ (ชำย หญิง)
อันตรภาค
เป็ นข้อมูลที่บอกถึงควำมแตกต่ำงระหว่ำงค่ำที่
วัดได้แต่ละช่วง ที่มีควำมห่ำงเท่ำกัน ทุกช่วง
เป็ นข้อมูลที่เป็ นตัวเลข สำมำรถ บวก ลบ กันได้
แต่ไม่มีศูนย์แท้ เช่น อุณหภูมิ ระดับทัศนคติ
ระดับควำมคิดเห็น
สถิติที่ใช้ในกำรวิเครำะห์
1.จัดเป็ นกลุ่มได้
2. บอกระดับควำมมำกน้อย หรือ
เรียงล ำดับได้
3. มีค่ำเป็ นตัวเลขที่มีช่วงห่ำงเท่ำกัน
ประเภทของสถิต
Descriptive
Statistics
เกี่ยวข้องกับการท าตาราง การ
พรรณนา การอธิบายข้อมูล
สถิติที่ใช้ เช่น ค่าเฉลี่ย ค่ามัธยฐาน
ค่าฐานนิยม ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ค่าพิสัย ฯลฯ
Inferential
Statistics
วิเคราะห์ข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างเพื่อ
น าไปสู่การลงนัยสรุปไปยังประชากร
- สถิติพารามิเตอร์ (Parametric
Statistics)
- สถิตไร้พารามิเตอร์
(Nonparametric Statistics)
ประเภทตัวแปรตำมบทบาท
– ตัวแปรอิสระ (Independent Variables)
– ตัวแปรตาม (Dependent Variables)
สถิติพรรณนำกับกำรวิจัย
ช่วยสรุปคุณสมบัติของสิ่งศึกษา (ประชากรหรือกลุ่มหน่วยวิเคราะห์)
ช่วยสรุปตัวเลขหรือหน่วยจ าให้เห็นเป็นรูปธรรม
เหมาะส าหรับการรายงานวิจัยทั้งเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ
ช่วยในการตัดสินใจเบื้ องต้นว่าการวิจัยได้เก็บข้อมูล
จากกลุ่ม/หน่วยวิเคราะห์ที่เหมาะสมหรือไม่ ทั้งในด้านจ านวนและในด้าน
คุณสมบัต
สถิติ หมำยถึง ตัวเลขหรือข้อมูลที่ได้จำกกำร
เก็บรวบรวม เช่น จำนวนผู้ประสบอุบัติเหตุบน
ท้องถนน อัตรำกำรเกิดของเด็กทำรก จ ำนวน
ผู้เสียชีวิตด้วยโรคไข้เลือดออก เป็ นต้น
เรียงอันดับ
เป็ นข้อมูลที่ใช้จัดอันดับของสิ่งต่ำงๆ โดย
เรียงอันดับของข้อมูลตำมวัตถุประสงค์ท
ี่ต้งัไว
้
จำกสูงสุดไปหำต ่ำสุด เช่น ล ำดับที่ของกำร
สอบ ล ำดับของกำรประกวดสิ่งต่ำงๆ หรือ
ควำมนิยมเป็ นต้น ซึ่งจะน ำไป บวก ลบ คูณ
หำร กันไม่ได้เช่นกัน
สถิติที่ใช้ในกำรวิเครำะห์ คือ ควำมถี่ สัดส่วน
ร้อยละ
1.จัดเป็ นกลุ่มได้
2. บอกระดับควำมมำกน้อย หรือ
เรียงล ำดับได้
เช่น ตัวแปรวุฒิกำรศึกษำ (ประถม
มัธยม)
อันตราส่วน
เป็ นข้อมูลที่ใช้วัดในระดับสูง
สำมำรถบวก ลบ คูณ หาร ได้ และมีศูนย์แท้
1.จัดเป็ นกลุ่มได้
2. บอกระดับควำมมำกน้อย หรือเรียงล ำดับ
ได้
3. มีค่ำเป็ นตัวเลขที่มีช่วงห่ำงเท่ำกัน
4. มีจุดเริ่มต้นจำก 0
หลักกำรเบื้องต้นที่สำคัญของกำรใช้สถิต
เสนอในรูปแบบมำตรฐำนของแต่ละวิธีกำรหรือ
ที่วงวิชำกำรยอมรับ
แปลผลค่ำสถิติต่ำงๆ ได้ถูกต้อง
ตีความหมำย
ประเภทของตัวแปรที่ใช้ในสถิติ
ตัวแปรกลุ่ม หรือ นามมาตร หรือ นามกำหนด (Norminal)
– ตัวแปรอันดับ (Ordinal)
– ตัวแปรช่วงหรืออันตรภาค (Interval)
– ตัวแปรอัตราส่วน (Ratio)