ลักษณะเด่นของภาษาไทย

การเรียงคำในประโยค

ภาษาไทยเรียงเป็นประโยคแบบ ประธาน + กริยา + กรรม

มีลักษณะนาม

ก. คำลักษณะนามจะอยู่ข้างหลังคำวิเศษณ์บอกจำนวนนับ เช่น ฉันรักแมวทั้ง 10 ตัว เข้าได้รับบ้าน 1 หลัง ที่ดิน 2 แปลงเป็นมรดก *ถ้าใช้คำว่า "เดียว" เป็นจำนวนนับ คำลักษณะนามจะอยู่หน้าคำว่าเดียว เช่น ขวดเดียวก็เกินพอ

ข. คำลักษณะนามตามหลังคำนามเพื่อลักษณะของนามนั้น เช่น ปลาตัวใหญ่นี้แพงมาก, ที่ดินแปลงนี้สวยจริง ๆ ,เทียนเล่มแดงหายไปไหน

ภาษาไทยมีการแบ่งวรรคตอนเป็นจังหวะ

ส่วนการพูดภาษาไทยก็จำเป็นต้องเว้นจังหวะให้ถูกต้อง เพื่อความชัดเจนของข้อความ

ภาษาไทยมีคำเลือกใช้ตามกาลเทศะ

การเลือกใช้คำให้ถูกต้องเหมาะสมกับบุคคล

ใช้ตามฐานะของบุคคลเพื่อแสดงถึงความยกย่องกันและกัน

มี "คำราชาศัพท์" ใช้ซึ่งเป็นเอกลักษณ์ของภาษาไทย

แสดงถึงลักษณะของวัฒนธรรมทางภาษา สังคมไทยเป็นสังคมที่นับถืออาวุโส

เป็นคำโดด

มีคำใช้โดยอิสระ ไม่ต้องเปลี่ยนรูป

คำไทยแท้ มีพยางค์เดียว

เป็นคำที่มีความหมายสมบูรณ์ในตัว เข้าใจได้ทันที

ย่า

มีด

ตู้

โต๊ะ

แขน

สะกดตามมาตราตัวสะกดทั้ง 8 มาตรา

ไม่มีคำใช้ทัณฑฆาต หรือตัวการันต์

มาตราแม่ กก

มาตราแม่ กด

มาตราแม่ กบ

มาตราแม่ กง

มาตราแม่ กน

มาตราแม่ กม

มาตราแม่เกย

มาตราแม่ เกอว

เสียงวรรณยุกต์

ทำให้ระดับเสียงต่างกัน มีคำใช้กันมากขึ้น เกิดความไพเราะดังเสียง ดนตรีและสามารถเลียนเสียงธรรมชาติได้อย่างไกล้เคียง

เสียงสามัญ

อยู่ในระดับเสียงกึ่งสูง-กลาง

เสียงเอก

อยู่ในระดับเสียงกึ่งต่ำ-ต่ำ

เสียงโท

อยู่ในระดับเสียงสูง-ต่ำ

เสียงตรี

อยู่ในระดับเสียงกึ่งสูง-สูง

เสียงจัตวา

อยู่ในระดับเสียงกึ่งต่ำ-ต่ำ-กึ่งสูง

การสร้างคำ

มีการยืมคำภาษาต่างประเทศมาใช้และมีการสร้างคำใหม่ ซ้ำคำ,ซ้อนคำ,การสมาส-สนธิ

การประสมคำ

ซ้ำคำ

ซ้อนคำ

การสมาส-สนธิ