ความรู้พื้นฐานของการวิจัย (foundation of Rescarch)

2.ขั้นตอนในการวิจัย

1) เลือกหัวข้อ. 2)กำหนดขอบเขตปัญหาของมัน. 3)ศึกษาเอกสารและผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 4) กำหนดสมมุติฐาน. 5) เขียนเค้าโครงวิจัย. 6) การสร้างเครื่องมือรวบร่วมข้อมูล 7) การเก็บข้อมูลรวบรวม

การเขียนเค้าโครงวิจัย 1.ชื่องานวิจัย. 2.ภูมิหลังหรือที่มาของปัญหา. 3. วัตถุประสงค์ 4. ขอบเขตของการวิจัย. 5 ตัวแปรต่างๆที่วิจัย 6 คำนิยามศัพท์เฉพาะ (ในกรณีที่จำเป็น) 7.สมมุติฐาน (ถ้ามี) 8. วิธีดำารการวิจัย. 9.รูปแบบของงานวิจัย 10. การสุ่มตัวอย่าง 11. เครื่องมือที่ใช่ในการเก็บรวบรวมข้อมูล 12.การวิเคราะห์ข้อมูล. 13.แผนการทำงาน. 14.งบประมาณ

1.เนื้อหา

1.ความหมายของการวิจัย

เป็นกระบวนการแสวงหาความรู้ที่มีระบบมีขั้นตอนสามารถตรวจสอบได้ ค้นคว้า เพื่อนำไปใช้อธิบาย ปรากฏการณ์ นำไปใช้ในการแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นได้อย่างถูกต้องและเชื่อถือได้

2.จุดมุ่งหมายของการวิจัย

- มุ่งหาคำตอบเพื่อนำมาใช่แก้ปัญหา. -สรุปผล. -เก็บรวบรวมข้อมูล

3.แนวคิดพื้นฐานของการวิจัย

-กฎและเหตุผลของธรรมชาติ (Detrministic lawof nature ). -กฎความเป็นระบบของธรรมชสติ (Systematic law of nature). -กฎความสัมพันธ์ของธรรมชาติ ( principle component of nature) - กฎความน่าจะเป็นของธรรมชาติ (probabilistic law of nature)

4. คุณลักษณะของการวิจัย

-เป็นวิธีการหนึ่งที่มนุษย์ใช้เป็นเครื่องมือในการแสวงหาความรู้ ด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ที่มีนะบบและขั้นตอน ชัดเจน มีการกำหนด จุดมุ่งหมาย ที่ผู้ใช้เป็นแนวทางในการแสวงหาคำตอบ

5. ธรรมชาติของการวิจัย

- เป็นกระบวนการเชิงประจักษ์. -เป็นการดำเนินการที่เป็นระบบ -มีจุ่ดหมายที่ชัดเจน. - มีความเที่ยงตรง (validity ) -มีความเชื่อมั่น *ทำกระบวนการแบบเดิมๆ (Relibility). -มีเหตุผล - เป็นการแก้ไขปัญหา - มีการรวบรวมข้อมูลใหม่. -วิธีที่หลากหลาย -ต้องใช้ศักนภาพผู้จ้าง

6.ประเภทของการวิจัย

6.1 จำแนกตามประโยชน์ที่ได้รับหรือเหตุผลในการวิจัย

- การวิจัยพื้นฐานหรือการวิจัยบริสุทธิ์[Basic research or pure research] -การวิจัยการนำไปใช่ (Applied research )*วิจัยเฉพาะเรื่อง เป็นวิจัยเชิงปฏิบัติ (Action Resarch )

6.2 จำแนกตามลักษณะ (ความลึกและความกว้าง)

-การวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research). -การวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitive Research)

6.3 จำแนกตามระเบียบวิจัยmethodology

1)การวิจัยเชิงประวัติศาสตร์ (Historial Research). 2)การวิจัยเชิงบรรยาย (Descriptive Research). -การวิจัยเชิงสำรวจ -การศึกษาความสัมพันธ์ -การศึกษาพัฒนาการ เช่นการศึกษาเฉพาะกรณี ,การศึกสหสัมพันธ์

6.4 จำแนกตามลักษณะของวิชา

-วิจัยทางวิทยาศาสตร์. -วิจัยทางสังคมศาสตร์

6.5 จำแนกตามเวลาที่ใช่ในการทำวิจัย

-การวิจัยแบบตัดวาง \ ระยะสั้น. -การวิจัยแบบต่อเนื่อง

6.6 จำแนกตามเป้าหมายหลักของการวิจัย

-มุ่งอบรรยายตัวแปร (Desriptive -orielmted Resarch). . -มุ่งอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปล - มุ่งแสวงหาความเป็นเหตุผลเป็นผลระหว่างตัวแปล

6.7 ประเภทของการวิจัยจำแนกตามการจัดทำ

-แบบทดลองเบื้องต้น. (ไม่มีการทำสิ่งทดลองในการทดสอบ เช่น การวิจัยเชิงสำรวจ , การวิจัยเชิงอนาคต) pre Experimental Resarch. -สิ่งทดลอง ( มีการทดลองแต่ไม่เต็มรูปแบบ) Experimental Resarch. -แบบทดลองที่แท้จริง.True Experimental Resarch

3.การจัดกระทำข้อมูล

1) input จัดเตรียมข้อมูลเพื่อการวิเคราะห์. 2)processing จัดแบ่งประเภทข้อมูล. 3)output นำผลเขียนเป็นรายงาน 4)สรุปผลการวิจัยและเรียนเป็นรายงาย

4.ตัวแปรสมมุติฐาน

1 ความหมายของตัวแปร

คุณสมบัติหรือคุณลักษณะหรือปรากฏการณ์ของสิ่งต่างๆที่ผู้วิจัยต้องการศึกษาหาความจริง

2 ลักษณะและชนิดของตัวแปร

1) ลักษณะลักษณะของตัวแปร -ตัวแปรรวม (concept) เช่น เพศ อายุ ความสูง เชื้อชาติ อาชีพ 2)ตัวแปรนามธรรม (construct) บางครั้งเรียกตัวแปรสมมุติฐาน (hypothetical ) เช่น ความวิตกกังวล ทัศนคติ ความเป็นผู้นำ

2 ชนิดของตัวแปร -ตัวแปรอิสระ(Indipendent variable ) เป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดผลตามมา ในการทดลองตัวแปรอิสระเรียกว่าตัวแปรทดลองแทนด้วยสัญลักษณ์ X -ตัวแปรตาม (dependent variable ) อาจเรียกตัวแปลที่ถูกกำหนด. - ตัวแปรแทรกซ้อนหรืออาจเรียกว่าตัวแปรเดิม (Extraneous variable ) ควบคุมได้ -ตัวแปรสอดแทรก รบกวนตัวแปรตาม (Intervening variable) ควบคุมไม่ได้

3 การนิยามตัวแปร

-ในลักษณะขององค์ประกอบ (constitutive definition) มักใช้กับตัวแปรที่เป็นรูปูธรรม. - ในลักษณะปฎิบัติการ (operational definition)

4 สมมุติฐาน (hypothesis)

คำตอบที่การณ์ไว้ล่วงหน้า อย่างสมเหตุสมผลต่อปัญหาที่ศึกษา คือกล่าวถึงความสัมพันธ์ตั้งแต่2ขึ้นไป สามารถทดสอบความสัมพันธ์ของตัวแปรแหล่งนี้ได้

5 ประเภทของสมมุติฐาน.

-แบบมีทิศทาง ( direc tional) -แบบไม่มีทิศทาง ( ondirectinal)

6 แหล่งที่มาของสมมุติฐาน

- เอกสาร -อภิปราย - สนทนา - สังเกต -ประสบการณ์

7 ลักษณะสมมุติฐานที่ดี

-สอดคล้องจุดมุ่งหมาย. -ตอบคำถามได้. -ประเด็นเดียว -สอดคล้องสภาจริง - สมเหตุสมผล -เป็นทฤษฎี. -อ่านเข้าใจง่าย -ตรวจสอบได้ -มีขอบเขต -มีอำนาจในการพยากรณ์

5 การเขียนคำถามวิจัย

-ประเด็นคำถามเชิงพรรณนา (อะไรคือ , อะไรเป็น การเป็นวิจัยเชิงสำรวจ). -เชิงความสัมพันธ์ (การวิจัยศึกษาสหพันธ์). -เชิงเปรียบเทียบ (การวิจัยเชิงทดลอง ,การย้อนรอยเปรียบสาเหตุ)ท

6.จรรยาบรรณของวิจัย

-ซื่อสัตย์. -ตระหนักถึงพันธกรณี. -มีความรู้ -มีความรับผิดชอบ. - เคารพศักดิ์ศรี -มีอิสระทางความคิด -นำไปใช้ประโยชน์ในทางที่ชอบ. -เคารพความเห็นของผู้อื่น. -รับผิดชอบต่อสังคม