การประเมิน วิเคราะห์ สังเคราะห์สารสนเทศ

1. ลักษณะของสารสนเทศที่ดี

ต้องมีความความถูกต้อง (Accuracy)
▪ มีความน่าเชื่อถือ (Reliable)
▪ ต้องมีความสมบูรณ์ (Completeness)
▪ สอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้ (Relevance)
▪ เข้าถึงได้ง่าย (Accessible)
▪ ตรวจสอบได้ (Verifiability)
▪ ทันต่อความต้องการใช้ (Timeliness)
▪ มีความทันสมัย เป็นปัจจุบัน (Up to date)

2.หลักเกณฑ์ในการพจิารณาสารสนเทศทืี่ดี

1) พจิารณาความน่าเชื่อถือ

ความถูกต้องของสารสนเทศ

ความเที่ยงตรง

2) พจิารณาแหล่งที่
มาของสารสนเทศ

พิจารณาผู้แต่ง

พิจารณาสำนักพิมพ์หรือแหล่งผลิต

3) พิจารณาขอบเขตเนื้อหา

4) พิจารณาให้ตรงกับความต้องการ

5) พิจารณาช่วงเวลาที่เผยแพร่

3 การเลือกใช้สารสนเทศ

1. การประเมินสารสนเทศ (Evaluate)

2. การวิเคราะห์สารสนเทศ (Analysis)

3. การสังเคราะห์สารสนเทศ (Synthesis)

4 การประเมินสารสนเทศ

ความหมายของการประเมินสารสนเทศ

การตรวจสอบว่าสารสรเทศที่ได้มานั้น สามารถตอบคำถามที่ตั้งไว้ได้ละเอียดครอบคลุมทุกประเด็น มีคำอธิบายที่เป็นเหตุเป็นผลและมีเอกสารอ้างอิงที่มีความน่าเชื่อถือเพียงใด

ความสำคัญของการประเมินสารสนเทศ

คัดเลือกสารสนเทศที่เราได้จากการสืบค้นที่ มีคุณค่า มีความน่าเชื่อถือ ในทางวิชาการ เป็นการพิจารณาคัดเลือกจากแหล่งสารสรเทศต่างๆ

หลักการประเมินสารสนเทศ

พิจารณาว่าเป็นเรื่องที่ตรงกับความต้องการอย่างแท้จริงหรือไม่

พิจารณาว่าเป็นสารสนเทศที่มีความน่าเชื่อถือหรือไม่

พิจารณาว่าเนื้อหาองสารสนเทศอยในระดับใด

สารสนเทศปฐมภูมิ(Primary Information)

สารสนเทศทุติยภูมิ (Secondary Information)

สารสนเทศตติยภูมิ(Tertiary Information)

6. การสังเคราะห์ (Synthesis)

-จัดสารสนเทศที่ได้มาจากแหล่งต่างๆ (Organize frommultiple sources)
-นำเสนอสารสนเทศ (Present the information)

ขั้นตอนนี้จึงต้องเรียนรู้ในเรื่องที่เกี่ยวข้อง

การจัดกลุ่มความสัมพันธ์ของ
แนวคิด / เรื่อง

การวางโครงร่าง
(Outline)

การเขียนการ
อ้างอิงและ
บรรณานุกรม

การจัดสารสนเทศโดยทั่วไป

- จัดกลุ่ม (ประเด็นใหญ่ / ประเด็นย่อย)
- เรียงตามลำดับอักษร
- ตามลำดับเวลา (เช่น เหตุการณ์)
-ตั้งแต่ต้นจนจบ
- ใช้หลายๆ วิธีข้างต้นผสมผสานกัน

วิธีการจัดสารสนเทศ สามารถทำได้แบบง่ายๆ

1. นำเอกสาร หรือ ข้อมูลที่ได้มาจากแหล่งต่างๆ ที่ได้ มาอ่านอีกครั้ง
2. ทำ Highlight / Mark ที่ประโยค หรือข้อความที่สำคัญที่จะใช้
3. ลองจัดกลุ่มความสัมพันธ์ของเรื่องหรือข้อมูล โดยการใส่ตัวเลข หรือตัวอักษรที่ข้อความนั้นๆ
4. จัดเรียงข้อมูลที่ได้เพื่อจัดกลุ่มใหม่อีกครั้ง (หรืออาจเขียนเป็นโครงร่าง)เพื่อให้เห็นลำดับชั้นความสัมพันธ์ และความต่อเนื่องของข้อมูล
5. จะได้กลุ่มข้อมูล หรือ โครงร่างคร่าวๆ ที่มองเห็นภาพรวมของข้อมูล หรือคำตอบทั้งหมด (ใส่ข้อมูล มุมมอง เรียบเรียงข้อมูลด้วยภาษาของตนเอง)

การนำเสนอสารสนเทศ /การนำเสนอผล

นิทรรรศการ
▪ E-book
▪ วีดิทัศน์
▪ เกม
▪ Booklet
▪ บอร์ด
▪ สไลด์
▪ การแสดงละคร
▪ รายงาน
▪ แผ่นพับ
▪ โครงงาน
▪ Web page
▪ ภาพยนตร์
▪ Oral / Oral report
▪ PPT

การเขียนแผนผังความคิด หรือแผนที่ความคิด (Mind Map)

Mind Map คือ การถ่ายทอดความคิด หรือข้อมูลต่าง ๆ ที่มีอยู่ในสมองลงกระดาษ โดยการใช้ภาพ สี เส้น และการโยงใย แทนการจดย่อแบบเดิมที่เป็นบรรทัด ๆ เรียงจากบนลงล่าง ทำให้สามารถเห็นภาพรวม และเปิดโอกาสให้สมองให้เชื่อมโยงต่อข้อมูลหรือความคิดต่าง ๆ เข้าหากันได้ง่ายกว่า

การนำไปใช้งาน
1. ใช้ระดมพลังสมอง
2. ใช้นำเสนอข้อมูล
3. ใช้จัดระบบความคิดและช่วยความจำ
4. ใช้วิเคราะห์เนื้อหาหรืองานต่างๆ
5. ใช้สรุปหรือสร้างองค์ความรู้

5 การวิเคราะห์สารสนเทศ

ความหมายของการวิเคราะห์สารสนเทศ

การวิเคราะห์สารสนเทศ หมายถึง
กระบวนการแยกแยะสารสนเทศที่สำคัญ
และสอดคล้องกับเรื่องที่ต้องการออก
เป็นกลุ่มย่อยๆ โดยให้สารสนเทศที่มีเนื้อหาเดียวกันหรือที่ค้นได้จากคำสำคัญเดียวกันอยู่ด้วยกัน

ขั้นตอนการวิเคราะห์สารสนเทศ

1. อ่านจับใจความสำคัญของเรื่อง

2.พิจารณาเนื้อหาสารสรเทศที่สอดคล้องกับประเด็นแนวคิดต่างๆ ที่ต้องการจะศึกษา

3.บันทึกสารสรเทศที่สอดคล้องกับเรื่องที่ต้องการ

4.จัดกลุ่มเนื้อหา

บัตรบันทึกความรู้

การบันทึก เป็นการเขียนเรื่องราว ข้อความ ข้อเท็จจริงต่างๆ ที่ได้รับจากการฟังการอ่านเพื่อเตือนความจำ หรือศึกษาค้นคว้า

บัตรบันทึกความรู้ คือ บัตรแข็งขนาด 5x8 หรือ 4x6 หรือกระดาษรายงาน A 4

พับครึ่งใช้บันทึกข้อมูลที่ ต้องการ ควรจดบันทึกเฉพาะตอนที่จะเกี่ยวข้องกับเน้ื้อหาตามโครงเรื่องที่กำหนดไว้

ส่วนประกอบของบัตรบันทึกความรู้
1. หัวข้อเรื่องที่ต้องการค้นคว้า ลงไว้ที่หัวมุมบนขวาของบัตร
2. แหล่งที่มาของข้อมูลให้เขียนตามรูปแบบบรรณานุกรม
3. เลขหน้าที่ปรากฏของข้อมูล
4. ข้อความที่บันทึก

วิธีเขียนบัตรบันทึกเนื้อหา

1.แบบย่อความหรือสรุปความ

2.แบบคัดลอกข้อความ

3.แบบถอดความ

地図を中央に表示するには、ここをクリックしてください。
地図を中央に表示するには、ここをクリックしてください。