การเขียนรายงานทางวิชาการ

ประเภทรายงาน

รายงานวิชาการ (Reports)

ภาคนิพนธ์(Term paper)

วิทยานิพนธ์(Thesis/Dissertation)

รายงานการวิจัย (Research)

รายงานวิชาการ

ศึกษาค้นคว้าและนำมาเรียบเรียง
อย่างมีระเบียบ

ศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมเพื่อเสริมเนื้อหาที่เรียนในรายวิชาใดรายวิชาหนึ่งในแต่ละภาคการศึกษา

ผู้ทำรายงานอาจเลือกหัวข้อที่สนใจเอง
หรือผู้สอนเป็นผู้กำหนดให้

ทำเป็นกลุ่มหรือเป็นรายบุคคล

ภาคนิพนธ์

มีลักษณะเช่นเดียวกับรายงาน

มีลายละเอียดลึกซึ้งมากกว่า

ใช้เวลา 1 ภาคการศึกษา

วิทยานิพนธ์

เป็นรายงานผลของการค้นคว้าวิจัย ซึ่ง
เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาในระดับ
บัณฑิตศึกษา

ปริญญา
มหาบัณฑิต
(Thesis)

ปริญญาดุษฎี
บัณฑิต
(Dissertation)

รายงานการวิจัย

เป็นรายงานผลของการค้นคว้าวิจัยของอาจารย์นักวิชาการ นักวิจัย เป็นการศึกษาค้นคว้าลักษณะเดียวกับการทำวิทยานิพนธ์

ประโยชน์ของการทำรายงาน

ทำให้เกิดองค์ความรู้ใหม่ และข้อเท็จจริงใหม่ๆ

ทำให้มีพัฒนาการทางวิชาการในสาขาวิชาต่างๆ

ช่วยให้ทราบข้อมูลที่แท้จริง

ทำให้เกิดการรู้จักใช้ความคิดอย่างมีเหตุผล และสร้างทักษะในการแก้ไขปัญหา

เพิ่มพูนทักษะในการเขียนรายงานทางวิชาการ

ความหมาย

Subtopic

สิ่งพิมพ์ทที่เรียบเรียงขึ้นอย่างมีระบบระเบียบ
จากการศึกษาค้นคว้า การทดลอง การสังเกตการณ์
การสำรวจ การสัมภาษณ์ เป็นต้น

ขั้นตอนการเขียนรายงาน

เลือกและกำหนดหัวข้อการทำรายงาน

อ่านข้อมลของเนื้อหาก่อน

จัดทำเค้าโครงรายงาน

รวบรวมบรรณนุกรม

อ่านและจดบันทึก

การใช้สารสนเทศจากแหล่งต่างๆ

จัดทำโครงเรื่องครั้งสุดท้าย

การเรียบเรียงรายงาน

การเขียนรายการอ้างอิลและ
บรรณานุกรม

การเขียนรายงานฉบับสมบูรณ์

ส่วนประกอบของรายงาน

หน้าปก

ชื่อของรายงาน

ชื่อ นามสกุลและเลขรหัส

ชื่อวิชา

ชื่อสำนักวิชา

ชื่อสถาบันการศึกษา

ปีการศึกษาที่ทำ

คำนำ

สารบัญ

เนื้อหา

บรรณานุกรม

ภาคผนวก

地図を中央に表示するには、ここをクリックしてください。
地図を中央に表示するには、ここをクリックしてください。