นโยบายสาธารณะ
กิจกรรมที่กระทำโดยรัฐและรัฐเลือกที่จะกระทำหรือไม่กระทำก็ได้
ความสำคัญต่อประชาชน
เพราะเป็นผู้ได้รับผลจากนโยบาย
คาดหวังให้รัฐแก้ไขปัญหาที่ตอบสนองต่อตน
ความสำคัญต่อรัฐบาล
เป็นเครื่องมือทางการเมือง
เป็นเครื่องมือในการบริหารกำหนดทิศทางการพัฒนาประเทศ
นโยบายตามเนื้อหาและวัตถุประสงค์
นโยบายบังคับ กฎหมายต่างๆ
นโยบายกระจายทรัพยากร สวัสดิการต่างๆ
นโยบายจัดสรรทรัพยากรใหม่ นำนโยบายที่มีอยู่มาจัดทำใหม่
นโยบายสถาบัน กำหนดระบบการเมืองและสถาบันการเมือง
นโยบายตามบริบทของภาครัฐ
นโยบายแบบกฎหมายหรือกฎเกณฑ์
นโยบายแบบแผน
นโยบายแบบอื่นๆ
มติคณะรัฐมนตรีที่ไม่ได้มุ่งเป็นกฎเกณฑ์
มติคณะรัฐมนตรีที่กำหนดระเบียบแบบแผนในการปฏิบัติข้าราชการ
สภาพแวดล้อมของนโยบาย
สภาพแวดล้อมภายในประเทศ
ด้านการเมือง
วัฒนธรรมทางการเมืองคับแคบ
วัฒนธรรมทางการเมืองแบบไพร่ฟ้า
วัฒนธรรมทางการเมืองแบมีส่วนร่วม
ทางเศรษฐกิจและสังคม
ส่งผลทั้งทางตรงและอ้อม เป็นปัจจัยที่ผลักดันให้รัฐบาลตัดสินใจดำเนินหรือไม่ดำเนิน
สภาพแวดล้อมนอกประเทศ
การติดต่อสัมพันธ์ การร่วมมือภายใต้ กระแสโลกาภิวัตน์
กระบวนการกำหนดนโยบาย
การกำหนดทางเลือกนโยบาย
การแสวงหาทางเลือกนโยบาย
การพิจารณาระหว่างทางเลือกที่ควรกระทำและไม่ควรกระทำ
การพิจารณาทางเลือกที่เหมาะสม
การวิเคราะห์ทางเลือกนโยบาย
พิจารณาเปรียบเทียบแต่ละทางเลือก “การกลั่นกรองทางเลือก”
การตัดสินใจนโยบายสาธารระ
ทฤฎที่นำมาพิจารณาประกอบการตัดสินใจนโยบาย
ทฤษฎียึดหลักเหตุผล
ตัดสินเพื่อประยชน์สูงสุดของสังคม
ให้ผลประยชน์มากกว่าค่าใช้จ่าย
ทฤษฎีส่วนเพิ่ม
ทฤษฎีแบบผสมผสาน
ทฤษฎีเกม
การประเมินนโยบายสาธารณะ
แนวทางและช่วงเวลา
การประเมินก่อนดำเนินการ
การประเมินระหว่างดำเนินการ
การประเมินผลรวม
วัตถุประสงค์ในการนำผลการประเมินไปใช้
การประเมินความจำเป็นของโครงการ
การประเมินทฤษฎีโครงการ
การประเมินทฤษฎีผลลัพธ์
การประเมินทฤษฎีกระบวนการ
การประเมินกระบวนการ
การประเมินผลลัพธ์ของโครงการ
การประเมินประสิทธิภาพของโครงการ
รูปแบบและเทคนิค
การประเมินที่ยึดจุดมุ่งหมายเป็นหลัก
การประเมินที่ไม่ยึดวัตถุประสงค์เป็นหลัก
การประเมินเพื่อมุ่งเน้นการตัดสินใจของผู้บริหาร
การประเมินแบบ CSE Model
การประเมินระบบ
การประเมินการวางแผนงาน
การประเมินการดำเนินงาน
การประเมินเพื่อปรับปรุง
การประเมินเพื่อรับรองโครงการ
การประเมินแบบ CIPP Model
การประเมินด้านบริบทหรือสภาวะแวดล้อม
การประเมินปัจจัยนำเข้า
การประเมินกระบวนการ
การประเมินผลผลิต
เกณฑ์ในการประเมินผล
ประสิทธิผล
ประสิทธิภาพ
ความพอเพียง
ความเป็นธรรม
การตอบสนอง
ความเหมาะสม
การก่อรูปนโยบาย
การกำหนดประเด็นปัญหา
พิจารณาปัญหาในสังคม
วาระนโยบาย
ปัญหานโยบายสาธารณะ
สภาพที่บ่งชี้ถึงปัญหา สถานการณ์ความเดือดร้อน
การรับรู้ถึงสภาพทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคม จากประเทอื่นๆที่มีการพัฒนาในแต่ละมิติ ทำให้เกิดการรับรู้ร่วมกัน
ปัญหานยบายที่ผลักดันจากประชาชนอย่างเป็นระบบ
สภาวะหรือสถานการณ์ที่เดือดร้อน ในระดับปัจเจกหรือกลุ่มคน
ปัญหาในระดับสังคมที่ถูกยอมรับว่าเป็นปัญหาสาธารณะ
เกิดการรับรู้ถึงความสำคัญของปัญหาจาหน่วยงานหรือผู้มีอำนาจ
ปัญหานโยบายที่ผลักดันจากสถาบันของรัฐ
ไม่ได้มาจากลไกปัญหาของสังคม การดำเนินของรัฐสะท้อนให้เห็นปัญหา หรือผู้มีอำนาจสนใจเป็นเฉพาะ
การระบุปัญหา
พิจารณารายละเอียดของปัญหา เพื่อระบุว่าเป็นสถานการณ์ที่เดือดร้อน ต้องระบุปัญหาจากอาการของปัญหาให้ชัดเจนเพื่อนำไปสู่แนวทางการจัดการแก้ไข
ข้อจำกัด
ความสามารถหรือมุมมองของหน่วยงานที่รับผิดชอบในการระบุปัญหานโยบาย
ความสามารถไม่เพียงพอส่งผลให้เข้าใจผิดต่อสถานการณ์
มีความรู้ไม่มากพอที่จะเข้าใจปัญหาแบบรอบด้าน
มีข้อมูลที่ไม่ทันสมัยเท่าทันต่อสถานการณ์
ความซับซ้อนของปัญหา
มักเป็นปัญหาเชิงซ้อน มีความเกี่ยวพันกันหลายประเด็น แยกส่วนที่จะทำได้ยาก
การวิเคราะห์ปัญหา
พิจารณาจากจำนวนผู้กำหนดนโยบาย จำนวนทางเลือก
โครงสร้างของปัญหา
ปัญหาที่มีโครงสร้างดี
ปัญหาที่มีโครงสร้างปานกลาง
ปัญหาที่มีโครงสร้างไม่ดี
กำหนดวาระนโยบาย
ปัญหาที่ผลักดันเข้าสู่การพิจารณา
กระแสปัญหา
กระแสทางการเมือง
การนำนโยบายไปปฏิบัติ
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
หน่วยงานภาครัฐ
มักเป็นหน่วยงานหลักที่รับผิดชอบที่กำหนดจากฝ่ายการเมืองไปปฏิบัติ
ดำเนินงานในกิจการที่เป็นผลประโยชน์ของสาธารณะ
ฝ่ายการเมือง
มีบทบาทสำคัยในการกำหนดขอบเขตนโยบายไปปฏิบัติ
มีอำนาจในการกำหนดนโยบาย
องค์กรตุลาการ และองค์กรอิสระ
มีบทบาทสำคัญในการกำกับควบคุมการดำเนินงานของหน่วยงานที่รับผิดชอบการนำนโยบายไปปฏิบัติ
องค์กรภาคเอกชน
เป็นทั้งผู้รับบริการหรือผู้รับผลของนโยบาย
รวมทั้งการได้รับบริหารและความช่วยเหลือเพื่อแก้ไขปัญหา
แนวทางการนำนโยบายไปปฏิบัติ
การนำไปสู่การปฏิบัติระดับมหภาค
การแปลงนโยบายสู่แนวทางการดำเนินงานในระดับปฏิบัติ
การทำความเข้าใจบริบทและสาระของนโยบาย
การกำหนดแนวทาง แผนงาน และโครงการของหน่วยงานตามกรอบนโยบาย
การสร้างการรับรู้ และมอบหมายแนวทาง แผนงาน
การนำนโยบายไปสู่การปฏิบัติระดับจุลภาค
การระดมพลัง
การปฏิบัติ
การสร้างความเป็นปึกแผ่น