Evaluate, Analysis, Synthesis

ลักษณะของสารสนเทศที่ดี

ต้องมีความความถูกต้อง (Accuracy)

มีความน่าเชื่อถือ (Reliable)

ต้องมีความสมบูรณ์ (Completeness)

สอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้ (Relevance)

เข้าถึงได้ง่าย (Accessible)

ตรวจสอบได้ (Verifiability)

ทันต่อความต้องการใช้ (Timeliness)

มีความทันสมัยเป็นปัจจุบัน (Up to date)

การเลือกใช้สารสนเทศ

การประเมินสารสนเทศ (Evaluate)

การวิเคราะห์สารสนเทศ (Analysis)

การสังเคราะห์สารสนเทศ (Synthesis)

การวิเคราะห์สารสนเทศ

ความหมายของการวิเคราะห์สารสนเทศ

หมายถึง
กระบวนการแยกแยะสารสนเทศที่สำคัญและสอดคล้องกับเรื่องที่ต้องการออกเป็นกลุ่มย่อยๆโดยให้สารสนเทศที่มีเนื้อหาเดียวกัน

กระบวนการของการวิเคราะห์สารสนเทศ

1. การอ่านเนื้อหาของทรัพยากรสารสนเทศที่ผ่านการประเมินแล้วว่าสามารถนำมาใช้งานได้จริงๆ

2. ดึงเนื้อหาของสารสนเทศที่สอดคล้องกับประเด็นแนวคิดต่างๆ ที่เราต้องการศึกษา

3. ทำการบันทึกเนื้อหาลงในบัตรบันทึก

4. นำบัตรบันทึกมาจัดกลุ่มตามประเด็นแนวคิดเพื่อใช้ในการเรียบเรียงเนื้อหาของรายงานต่อไป

ขั้นตอนการวิเคราะห์สารสนเทศ

1. อ่านจับใจความสำคัญของเรื่อง

2. พิจาณาเนื้อหาสารสนเทศที่สอดคล้องกับประเด็นแนวคิดต่างๆที่ต้องการศึกษา

3. บันทึกสารสนเทศที่สอดคล้องกับเรื่องที่ต้องการ

คำสำคัญ หรือแนวคิด

แหล่งที่มาของข้อมูล เช่น ชื่อผู้แต่ง ชื่อหนังสือ

ใจความหรือข้อความสำคัญ

4. จัดกลุ่มเนื้อหา

บัตรบันทึกความรู้

การบันทึกเป็นการเขียนเรื่องราว ข้อความ ข้อเท็จจริงต่างๆ

บัตรบันทึกความรู้ คือ บัตรแข็งขนาด 5x8 หรือ 4x6 หรือกระดาษรายงาน A 4

ส่วนประกอบของบัตรบันทึกความรู้

1. หัวข้อเรื่องที่ต้องการค้นคว้าลงไว้ที่หัวมุมบนขวาของบัตร

2. แหล่งที่มาของข้อมูลให้เขียนตามรูปแบบบรรณานุกรม

3. เลขหน้าที่ปรากฏของข้อมูล

4. ข้อความที่บันทึก

วิธีเขียนบัตรบันทึกเนื้อหา

1. แบบย่อความ (Summary Note)

2. แบบคัดลอกข้อความ (Quotation Note)

3. แบบถอดความ (Paraphrase Note)

หลักเกณฑ์ในการพจิารณาสารสนเทศที่ดี

พิจารณาความน่าเชื่อถือ

ความถูกต้องของสารสนเทศ

ความเที่ยงตรง

พิจารณาแหล่งที่มาของสารสนเทศ

พิจารณาผู้แต่ง

พิจารณาสำนักพิมพ์หรือแหล่งผลิต

พิจารณาขอบเขตเนื้อหา

พิจารณาให้ตรงกับความต้องการ

พิจารณาช่วงเวลาที่เผยแพร่

การประเมินสารสนเทศ

การประเมินสารสนเทศ คือ การตรวจสอบว่าสารสนเทศที่ได้มานั้น สามารถตอบคำถามที่ตั้งไว้ได้ละเอียดครอบคลุมทุกประเด็น มีความน่าเชื่อถือเพียงใด

หลักการประเมินสารสนเทศ

พิจารณาว่าเป็นสารสนเทศที่มีความน่าเชื่อถือหรือไม

1. ประเมินความน่าเชื่อถือ
ของแหล่งสารสนเทศ

2.ประเมินความน่าเชื่อถือของ
ผู้เขียน ผู้จัดทำสำนักพิมพ์

3. ประเมินความน่าเชื่อถือ
ของทรัพยากรสารสนเทศ

4.ประเมินความทันสมัย
ของสารสนเทศ

พิจารณาว่าเนื้อหาของสารสนเทศอยู่ในระดับใด

สารสนเทศปฐมภูมิ (Primary Information)

สารสนเทศทุติยภูมิ (Secondary Information)

สารสนเทศตติยภูมิ (Tertiary Information)

การสังเคราะห์สารสนเทศ

การสังเคราะห์ คือ การจัดกลุ่มข้อมูลเรื่องเดียวกัน หรือแนวคิดเดียวกันไว้
ด้วยกันแล้วนำมาจัดกลุ่มอีกครั้งในลักษณะลำดับชั้นหรือรูปแบบของโครงร่าง (outline)

การจัดกลุ่มความสัมพันธ์ของแนวคิด / เรื่อง

1. นำเอกสารมาอ่านอีกครั้ง

2. ทำ Highlight / Mark

3. ลองจัดกลุ่มความสัมพันธ์

4. จัดเรียงข้อมูลที่ได้เพื่อจัดกลุ่มใหม่อีกครั้ง

5. จะได้กลุ่มข้อมูล หรือ โครงร่างคร่าวๆ

การเขียนโครงร่าง (Outline)

บทนำ

เนื้อหา

บทสรุป

การเขียนแผนผังความคิด หรือแผนที่ความคิด (Mind Map)

คือ การถ่ายทอดความคิด หรือข้อมูลต่าง ๆ ที่มีอยู่ในสมองลง
กระดาษ โดยการใช้ภาพ สี เส้น และการโยงใย แทนการจดย่อ

ขั้นตอนการสร้าง Mind Map

1. เขียน/วาดมโนทัศน์หลัก

2. เขียน/วาดมโนทัศน์รอง

3. เขียน/วาดมโนทัศน์ย่อย

4. ใช้ภาพหรือสัญลักษณ

5. เขียนคำสำคัญ (Key word)

6. กรณีใช้สีทั้งมโนทัศน์รองและย่อยควรเป็นสีเดียวกัน

7. คิดอย่างอิสระมากที่สุดขณะทำ

地図を中央に表示するには、ここをクリックしてください。
地図を中央に表示するには、ここをクリックしてください。