การศึกษาความพึงพอใจต่อความต้องการในการทำศัลยกรรมเสริมความงามของนักศึกษามหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
นิยามศัพท์เฉพาะ
แบบสอบถาม
เครื่องมือที่ใช้ในการวัดค่าความพอใจในการทำศัลยกรรมของกลุ่มตัวอย่าง
ความพึงพอใจ
ความรู้สึกยินดีหรือความเต็มใจที่ได้จากการทำศัลยกรรม
การให้บริการ
การกระทำหรือการดำเนินการของเจ้าของกิจการศัลยกรรม
ศัลยกรรม
การผ่าตัดอวัยวะเพื่อปรับปรุงรูปร่างของอวัยวะให้สวยงามตามที่ผู้ใช้บริการต้องการ
คลินิก
สถานรักษาพยาบาลขนาดเล็ก-กลาง บางที่เป็นการรักษาเฉพาะทางเช่น คลินิกศัลยกรรม
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
ได้แนวทางการตลาดและข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อแผนการดําเนินการทางธุรกิจเสริม ความงามสาํหรับผู้ประกอบการคลินิกเสริมความงามที่สนใจ
บทนำ
ความเป็นมาและความสําคัญของปัญหา
สังคมโลกได้มีการพัฒนาทางเทคโนโลยีมากขึ้น
เพื่อความสะดวกและสร้างคุณภาพชีวิตของมนุษย์ให้ดีขึ้น
จึงเกิดเป็นค่านิยมใหม่ๆอย่างต่อเนื่องเช่น การทำศัลยกรรม
วัตถุประสงค์ของโครงการวิจัย
เพื่อให้ทราบแนวโน้มของการทําศัลยกรรมที่มีผลต่อการตัดสินใจของผู้บริโภค
เพื่อให้ได้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อผู้ประกอบการธุรกิจเสริมความงาม
คำถามการวิจัย
ส่วนใดของร่างกายที่กลุ่มตัวอย่างต้องการทําศัลยกรรมเสริมความงามมากที่สุด
อะไรเป็นปัจจัยต่อการเลือกใช้บริการของลูกค้าต่อคลินิกเสริมความงาม
ทฤษฎีที่เกี่ยวของกับการจัดสร้างโครงงาน
ทฤษฎีอรรถประโยชน์หรือความพึงพอใจ
นภดล ร่มโพธิ์ กล่าวว่า ในการตัดสินโดยใช้ทฤษฎีอรรถประโยชน์ ผลของการ ตัดสินใจจะตรงกับความรู้สึกของผู้ตัดสินใจมากที่สุด
พระคมสนั เจริญวงค์ กล่าวว่า พฤติกรรมการบริโภคของผู้บริโภค มนุษย์ทุกคนใน โลกนี้ที่ยังมีความต้องการอยากได้ เมื่อบริโภคเข้าไปแล้วย่อมได้รับอรรถประโยชน์ทั้งหมด
แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับเรื่องศัลยกรรม
จารุวรรณี ปฐมธนพงศ์ กล่าวว่า การทําศัลยกรรมสามารถปรับเปลี่ยนรูปร่างหน้าตาได้อย่างต้องการโดยเป็นอีกหนึ่งทางเลือกสําหรับคนที่ไม่พึงพอใจในรูปร่างหน้าตาของตนเอง
ธนัชพร รุ่งโรจนารักษ์ กล่าวว่า ความงามนั้นมาคู่กับความสุข ผู้คนยินยอมที่จะทําศัลยกรรมเพื่อเปลี่ยนตัวเองให้ตนนั้นมีความมั่นใจ
ระเบียบวิธีวิจัย
ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้จะเลือกจากนักศึกษาม.วลัยลักษณ์จำนวน 30 คน
เครื่องมือที่ใช้ในการตรวจสอบความพึงพอใจของกลุ่มตัวอย่างจะใช้เป็น แบบสอบถามออนไลน์(Google Form)
วิธีการรวบรวมข้อมูลจะทำการกระจายแบบสอบถามผ่านสื่อออนไลน์และเลือกสุ่มเพื่อความมหลากหลายของข้อมูล
การวิเคราะห์ข้อมูลและสถิติที่ใช้ในการวิจัยจะทำการคำนวณเพื่อหาค่าเฉลี่ยและสรุปออกมาในรูปแบบแผนภูมิวงกลมเพื่อความสะดวกในการอ่านข้อมูล
สมมตฐิานการวิจัย
ผู้บริโภคนิยมใช้บริการคลินิกเสริมความงามมากกว่าโรงพยาบาลในการทําศัลยกรรม
ผู้บริโภคนิยมการทำศัลยกรรมจมูกมากที่สุด
ขอบเขตการวิจัย
ขอบเขตด้านประชากร
กลุ่มตัวอย่างนักศึกษามหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ จํานวน 30 คน
ขอบเขตด้านระยะเวลา
ระยะเวลาประมาณ 4 สัปดาห์ ตั้งแต่วันที่ 24 กมุภาพนัธ์ ถึง 17 มีนาคม 2564