Internet of Things and Regulatory Guidlines for Spectrum Management in Thailand

Internet of Things (IoT)

Definition

โครงข่ายสื่อสารที่มีการเชื่อมต่ออุปกรณ์โดยอาศัยการฝังระบบอิเล็กทรอนิกส์
software sensor และส่วนเชื่อมต่อโครงข่าย

อุปกรณ์
สื่อสาร

ยานพาหนะ

เครื่องใช้ไฟฟ้า

อุปกรณ์
สื่อสาร

Background and importance

สร้างมูลค่า
ทางเศรษฐกิจอย่างมหาศาล

ในอนาคตอันใกล้มนุษย์อาจมีเทคโนโลยี สิ่งอำนวยความสะดวก ที่ถูกพัฒนาไป ด้วยความก้าวหน้า ของเทคโนโลยี IOT

เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้อง

Internet

Sensor Technology

วิทยาการ Machine Learning

สาขาวิทยาการทางคอมพิวเตอร์ที่มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างกระบวนการ
ตัดสินใจอัตโนมัติ เป็นเครื่องมืออันสำคัญในการสร้างปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence) ที่ทำหน้าที่ในการตัดสินใจแทนมนุษย์ ตัวอย่างบริษัทที่มีการนำมาใช้งาน

Subtopic

Google

Facebook

Amazon

เทคโนโลยี Machine to Machine

Sensor Network

Machine Learning ที่ทำให้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์สื่อสารกันได้อย่างอัตโนมัติ

เทคโนโลยี Big Data

ปัจจัยทางเทคนิคที่ควรพิจารณา

พื้นที่ครอบคลุม

อัตราเร็ว ในการรับ-ส่งข้อมูล

การใช้พลังงานของอุปกรณ์

ลักษณะการใช้งานทรัพยากรคลื่นความถี่

การบริหารคลื่นความถี่ในช่วงเริ่มพัฒนา วิวัฒนาการการใช้คลื่นความถี่ของเทคโนโลยีIoT ระหว่างปีค.ศ. 2016-2035

2016 ช่วงเริ่มพัฒนา (introduction)

การร่วมใช้คลื่นความถี่ย่าน ISM ที่กำหนดให้ใช้โดย Short Range Devices แบบยกเว้นใบอนุญาต (LE: License Exempt)

การใช้แบบ WiFi off-load และ Mobile off-load

2020 ช่วงขยายตัว (Expansion)

พันนาร่วมใช้งานในย่านความถี่ ISM แบบ LE และอาจมีการพิจารณาการขยายย่านความถี่สำหรับ SRD และ LE

มีการพัฒนาการออกใบอนุญาตแบบใช้ร่วมกัน (LSA:License Shared Access) มากขึ้น

พิจารณาการใช้งานโดยอาศัยโครงข่าย Mobile Broadband ที่มีพื้นที่ครอบคลุมบริเวณกว้าง

2025 ช่วงขยายโครงข่ายทั่วโลก (Global rollout)

มีความพยายามที่จะทำข้อตกลงระับโลกที่จะร่วมขยายแถบความถี่สำหรับ SRD และ LE ในลักษณะแถบกว้าง เพื่อรองรับการส่งข้อมูลขนาดใหญ่

การบริหารคลื่นความถี่ในช่วงขยายตัว (ค.ศ 2021-2025)

เทคโนโลยีแบบแถบความถี่แคบ หรือเทคโนโลยีแบบแถบความถี่กว้าง (Broadband) ที่มีกำลังส่งต่ำ(Low Power) และมีระยะครอบคลุมที่สั้น Machine Learning ที่ทำให้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์สื่อสารกันได้อย่างอัตโนมัติ

การบริหารคลื่นความถี่ในช่วงขยายโครงข่ายทั่วโลก (หลัง ค.ศ. 2025)

มีความพยายามในระดับนานาชาติที่จะ
สร้างข้อตกลงหรือมาตรฐานกลางเพื่อให้เทคโนโลยีIoT ใช้คลื่นความถี่ร่วมกับเทคโนโลยีอื่นได้อย่าง
มีประสิทธิภาพ

แบบการประยุกต์ใช้งานเทคโนโลยี IoT ที่มีโอกาสจะเกิดขึ้นในประเทศไทย

ส่งผลให้ระบบ วัตถุและอุปกรณ์ทั้งหลายที่เคยททำงานแยกกัน สามารถเชื่อมต่อถึงกัน และสร้างช่องทางการเข้าถึงกัน

กระบวนการประยุกต์

อุตสาหกรรมและการผลิต

ระบบควบคุมเครื่องจักรกลการผลิตโดยอัตโนมัติ เพิ่มประสิทธิภาพและลดต้นทุนการผลิต เซนเซอร์ทุกตัวสามารถสื่อสารกันได้จะเพิ่มความ
แม่นยำ และช่วยให้ระบบงานสอดคล้องกันอย่างอัตโนมัติ

ระบบจัดการการเกษตรอัจฉริยะ

อาศัยการทำงานร่วมกันของระบบเซนเซอร์ที่วัดความชื้น ปริมาณแสงแดด อุณหภูมิระบบฐานข้อมูลพืช และระบบให้น้ำปรับปริมาณแสง และระบบปรับ อุณหภูมิที่ทำงานสอดคล้องกันเพื่อสร้างสภาวะแวดล้อมที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของพืช

ระบบคมนาคมและการจัดการโลจิสติกส์

การสื่อสารระหว่างพาหนะต่อพาหนะ

การสื่อสารระหว่างพาหนะต่อระบบคุมคุมการจราจร

ระบบขนส่งมวลชน เพื่อให้ระบบมีความปลอดภัย สะดวก และตรงเวลา

ระบุตำแหน่งยานพาหนะ

สถานะการรับ-ส่ง สินค้า

ระบบข้อมูลสุขภาพและการแพทย์

อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์แบบสวมใส่ได้(Wearable Devices)

อุปกรณ์ทางการแพทย์

วัดวงจรการนอน

ตรวจวัดความดันโลหิต ชีพจร

อุปกรณ์เก็บข้อมูลกิจกรรมระหว่างวัน

อุปกรณ์วัดสายตา

ระบบการจัดการพลังงานและสาธารณูปโภค

Smart Meter ซึ่งมีความสามารถใน การวัดปริมาณการใช้ สาธารณูปโภค
การวัดปริมาณการใช้สาธารณูปโภค หรือวัดคุณภาพสาธารณูปโภค หรือวัดคุณภาพสาธารณูปโภค

ระบบโครงข่ายไฟฟ้าอัจฉริยะ (Smart Grid)

ที่ทำหน้าที่ตรวจวัดปริมาณการใช้งานพลังงานไฟฟ้าและรวบรวมข้อมูลเพื่อประมาณการค่าอุปสงค์ (Demand Forecast) การใช้ไฟฟ้าในช่วงเวลาต่างๆ

การคิดราคาค่าไฟฟ้าแบบสอดคล้องกับค่าอุปสงค์-อุปทาน

การเงินการธนาคาร

เพิ่มช่องทางการเข้าถึงผู้บริโภค
ที่ใช้งานอุปกรณ์สื่อสารที่เชื่อมต่อกับระบบอินเทอร์เน็ต

e-Banking

e-Payment

การลงทุนและการซื้อขายสินทรัพย์ผ่าน
โทรศัพท์เคลื่อนที่

การซื้อขายอัตโนมัติความถี่สูง

การจัดการภาครัฐ

การให้บริการ
สาธารณะ (Public Service)

การยื่นคำร้องและการประมวลผลผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์

ระบบเมืองอัจฉริยะ(Smart City)

ระบบการคมนาคมอัจฉริยะ
(Smart Transportation)

ระบบส่งน้ำอัจฉริยะ

ระบบโครงข่ายไฟฟ้าอัจฉริยะ

ระบบบ้านอัจฉริยะ
(Smart Home)