สังคมความรู้ (Knowledge society)

ยุคของสังคมความรู้ (ยุคแห่งความรู้สังคม)

สังคมความรู้ยุคที่ 1

เป็นสังคมความรู้ที่มีพลังและอยู่กับกันเกิดการผลิตมี
ความสามารถในการแข่งขันกลไกตลาดและความอยู่รอด ซึ่งบุคคลเหล่านี้จะมีความสามารถ 5 ด้าน ดังนี้

1.Knowledge Access คือ การเข้าถึงความรู้ด้วยวิธีการต่างๆ

2.Knowledge Validation คือ การประเมินความถูกต้องของความรู้

3.Knowledge Valuation คือ การตีค่า การตีความรู้

4.Knowledge Optimization คือ การทำความรู้ให้ง่ายที่จะใช้

5.Knowledge Dissemination คือ การกระจายความรู้

สังคมความรู้ยุคที่ 2

เป็นสังคมความรู้แบบพอเพียง สมดุล บูรณาการ ประชาชนและทุก
ภาคส่วนมีบทบาทในการร่วมกันเป็นเจ้าของ ลักษณะสำคัญของสังคมความรู้ยุคที่ 2 คือ

1.มีการสะสมความรู้ภายในสังคม

2.มีการถ่ายโอนความรู้ภายในสังคม

3.มีการสร้างสรรค์ความรู้ใหม่ในสังคม

4.มีการประยุกต์ความรู้มาใช้ภายในสังคม

ลักษณะสังคมแห่งการเรียนรู้

ไม่จำกัดขนาดเเละสถานที่ตั้ง

เน้นการจัดการเรียนรู้เป็นปัจจัยหลัก

ประชาชนได้รับโอกาสการพัฒนา (Key Individuals)

สถาบันทางสังคมในพื้นที่เป็นตัวหลักในการริเริ่ม/ดำเนินการ(Key Institutions)

มีกลุ่มภาคประชาชนเป็นแกนกลาง (Core Groups) เพื่อรวมตัวกันจัดกิจกรรมพัฒนาชุมชน

มีการพัฒนานวัตกรรมและระบบการเรียนรู้

มีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการอย่างต่อเนื่อง

สถานศึกษาเป็นส่วนหนึ่งของชุมชนแห่งการเรียนรู้

การริเริ่ม/การเปลี่ยนแปลงมีอยู่ตลอดเวลา

ความรับผิดชอบเป็นหน้าที่ของบุคคลและชุมชนร่วมกัน

ทุกคนเป็นครูและผู้เรียน

ความรู้ (Knowledge)

ประเภทรูปแบบความรู้

Tacit Knowledge ความรู้ที่ซ่อนอยู่ในบุคคลหรือความรู้ที่ซ่อนเร้นเป็นความรู้ที่ได้จากประสบการณ์

Explicit Knowledge ความรู้ที่เด่นชัดหรือความรู้ที่บันทึกไว้เป็นความรู้ที่สามารถรวบรวมได้โดยผ่านวิธีต่างๆ

ข้อมูล สารสนเทศและความรู้ มีความหมายที่เกี่ยวข้องกันจนในบางครั้งไม่สามารถแยกออก
จากกันได้

ข้อมูล (Data)

สัญลักษณ์ที่ยังไม่ได้เเปรความ

สารสนเทศ (Information)

ข้อมูล ข่าวสาร ข้อเท็จจริง ความรู้ต่างๆ ที่ผ่านการประมวลผลแล้วและสามารถนำมาใช้ประโยชน์ได้
โดยสารสนเทศนั้นบันทึกไว้ในรูปแบบของวัสดุตีพิมพ์

ความรู้(Definition of Knowledge)

ความเข้าใจในเรื่องบางเรื่อง หรือสิ่ง
บางสิ่ง ซึ่งอาจจะรวมไปถึงความสามารถในการนำสิ่งนั้นไปใช้เพื่อเป้าหมายบางประการ

นิยามหรือความหมายของสังคมความรู้ (Definition of Knowledge Society)

สังคมความรู้หมายถึงสังคมที่มีการรักษาและใช้ประโยชน์จากเครื่อช่ายข้อมูลสูงจากความรู้ที่มีการทำงานโดยใช้ทักษะเเละความรู้สูง

กระบวนการจัดการความรู้ ้(Processes of Knowledge)

การบ่งชี้ความรู้

การสร้างเเละเเสวงหาความรู้

การจัดความรู้ให้เป็นระบบ

การประมวลเเละกลั่นกรองความรู้

การเข้าถึงความรู้

การจัดความรู้ในองค์กรการแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้

จัดเอกสารเอกสารความรู้ (Explicit Knowledge)

จัดระเบียบระบบทีมข้ามสายงาน (Tacit Knowledge)

การเรียนรู้ควรทำให้การเรียนรู้เป็นส่วนหนึ่งของงาน

Klik hier om uw map te centreren.
Klik hier om uw map te centreren.