ภาวะแทรกซ้อนระยะที่ 1 และ 2 ของการคลอด

r

2.เสียเลือดมาก

1. PREMATURE RUPTURE OF MEMBRANE:PROM

ภาวะที่ถุงน้าคร่ารั่วหรือแตกก่อนที่จะเริ่มมีอาการเจ็บครรภ์ สามารถแบ่งออกเป็น 2 ชนิด

1. Preterm Premature Rupture of Membranes หมายถึง ภาวะที่มีการแตกหรือรั่วของถุงน้าคร่าก่อนอายุครรภ์ 37 สัปดาห์

2. Term Premature Rupture of Membranes หมายถึง ภาวะถุงน้าคร่าแตกหรือรั่วที่อายุครรภ์ 37 สัปดาห์ขึ้นไป

Prolonged rupture of the membranes หมายถึง ภาวะที่มีการแตกหรือรั่วของถุงน้าคร่านานเกิน 24 ชั่วโมง ก่อนทารกคลอด

สาเหตุและปัจจัยส่งเสริม

1.ประวัติครรภ์ก่อนมี PROM/Preterm

2.การติดเชื้อในถุงน้ำคร่ำ chorioamnionitis (แบคทีเรีย / ไวรัส)

3.การติดเชื้อทางโรคเพศสัมพันธุ์ที่ปากมดลูกหรือช่องคลอด

4.การติดเชื้อเรื้อรังของระบบทางเดินปัสสาวะ

5.Cervical incompetence ปากมดลูกปิดไม่สนิท

6.การเจาะถุงน้ำคร่ำ (amniocentesis)

การวินิจฉัย

1.ประวัติ

-น้ำใสๆไหลออกทางช่องคลอด

-เวลาที่ถุงน้ำแตกเพื่อประเมินการติดเชื้อ

-อายุครรภ์เพื่อประเมินภาวะแทรกซ้อน

2.ตรวจร่างกาย

ขนาดมดลูกลดลง /คลำส่วนทารกได้ชัดเจนขึ้น

ประเมินสัญญาณชีพ เพื่อดูการติดเชื้อ

3.การตรวจทางห้องปฏิบัติการ

3.1.Nitrazine paper test

3.2 Fern test ได้ผลบวก

3.3.Ultrasound

3.4. Nile blue test ดูด้วยกล้องจุลทรรศน์

ภาวะแทรกซ้อน

1.การติดเชื้อของทารกในครรภ์ ทารกแรกคลอด และมารดา

2.การคลอดก่อนกำหนด

3.สายสะดือโผล่ มักพบร่วมกับทารกท่าผิดปกติ

4.Respiratory distress syndrome

5.ทารกพิการแต่กาเนิด เช่น Club foot , Potter syndrome

การรักษา

1.รับไว้ในโรงพยาบาล

2.หลีกเลี่ยงการตรวจภายใน / ทวารหนัก

3.ถ้ามีการติดเชื้อ ก่อให้เกิดการเจ็บครรภ์และการคลอด

4.ถ้าไม่มีการติดเชื้อ รักษาแบบประคับประคอง

2.PRETERM

ความหมาย : การเจ็บครรภ์และการคลอด

ระหว่างอายุครรภ์ 28 -37 สัปดาห์

น้ำหนักทารกแรกคลอด 1,000 - 2,500 กรัม

มดลูกหดรัดตัวอย่างสม่ำเสมอ อย่างน้อย 8 ครั้งต่อชั่วโมง

ปัจจัยเสี่ยง

แก้ไขไม่ได้

Teenage pregnancy. .Elderly gravidarum

ความผิดปกติของทารกหรือรก

มดลูกขยายตัวมากกว่าปกติจาก Twins

Incompetent cervixเนื้อเยื่อปากมดลูกอ่อนนุ่ม

PREVIOUS ,PRETERM,ABORTION

แก้ไขได้

การสูบบุหรี่ เสพสารเพติด

ภาวะทุพโภชนาการ BMI ต่า

การร่วมเพศที่ผิดลักษณะ ความวิตกกังวล

Infection การติดเชื้อระบบสืบพันธุ์และระบบทางเดินปัสสาวะ

โรคของมารดา เช่น PIH GDM

การวินิจฉัย

พบว่ามี Uterine contraction อย่างน้อย 1 ครั้งใน 10 นาที Duration > 30 วินาที

มีการบางและเปิดขยายของปากมดลูก

การดูแลรักษา

1.Bed rest ในท่านอนตะแคง

2.ตรวจภายในเพื่อประเมินการเปิดขยายของปากมดลูก

3.ตรวจดู Uterine contraction

4.ฟัง FHS อย่างสม่าเสมอ

5.ให้ยายับยั้งการเจ็บครรภ

ผลกระทบ

ทารก

RDS:Rspiratory distress syndrome.

IVH:Intraventricular hemorrhage

NEC:Necrotizing enterocolitis

Hypoglycemia,Hyperbilirubinemia,Infection,Retinopathy

**ทารกระยะหลัง**

โรคปอดเรื้อรัง(กรณีใส่เครื่องช่วยหายใจ)

พัฒนาการล่าช้า

มารดา

ภาวะแทรกซ้อนจาก Tocolytic drug

3.POSTTERM

สาเหตุ

1.มีประวัติตั้งครรภ์เกินกำหนด

2.ทารกที่มี Anencephaly.ไม่มีส่วนนามากดกระตุ้นที่มดลูกส่วนล่าง/ปากมดลูก

3.ทารกที่ไม่มีต่อมใต้สมอง

4.ทารกที่ต่อมหมวกไตฝ่อ(Fetal : Congenital adrenal hypoplasia)

5.Macrosomia

6.CPD

7.Malposition

ผลกระทบ

ต่อทารก

1.Midpelvis arrest / CPD / Shoulder dystocia

2.Cord compression / Meconium aspiration / Fetal distress

3.Meconium aspiration

4.Dysmaturity

5.Hypoglycemia

ต่อมารดา

- วิตกกังวล

- ได้รับอันตรายจากการคลอดเนื่องจากทารกตัวโต

- การฉีกขาดของช่องทางคลอด การติดเชื้อ การตกเลือดหลังคลอด

- การกลั้นปัสสาวะไม่ได้ การหย่อนยานของอุ้งเชิงกราน

- สิ้นเปลืองค่าใช้จ่าย การตรวจติดตามสุขภาพทารกในครรภ์

การวินิจฉัย: ต้องทราบอายุครรภ์ที่แน่นอน

1.ประวัติประจาเดือนครั้งสุดท้าย / ก่อนครั้งสุดท้าย

2.ประวัติการคุมกาเนิด / ความสม่าเสมอของรอบประจาเดือน

3.การทดสอบการตั้งครรภ์ ( Pregnancy test)

4.PV เพื่อประเมินขนาดของมดลูก

5.FHS ครั้งแรกได้เมื่อ 18-20 สัปดาห์

การดูแลรักษาก่อนคลอด

1.ประเมินสุขภาพทารกในครรภ์อย่างใกล้ชิด

2.ถ้าปากมดลูกยังไม่สุกต้องกระตุ้นด้วย Prostaglandin E2 ป้ายปากมดลูก

**การดูแลทารกแรกคลอด**

- เตรียมกุมารแพทย์คอยช่วยเหลืออาจต้อง Resuscitrate

- ดูดเมือกและขี้เทา ออกจากปาก จมูกและคอ ทารกให้มากที่สุด

- ให้ออกซิเจนอย่างเพียงพอ

- เตรียมช่วยเหลือภาวะ Hypothermia / Hypoglycemiaและภาวะอื่นๆ

4.DYSTOCIA

ลักษณะของการคลอดยาก 3 ชนิด

1.การคลอดยาวนาน(Prolongation disorder)

ระยะปากมดลูกเปิดช้ายาวนาน: Prolonged latent phase

2.การคลอดล่าช้า (Protraction disorder)

- ระยะปากมดลูกเปิดขยายล่าช้า(Protracted active phase of dilatation)

- ระยะส่วนนาเคลื่อนต่าล่าช้า (Protracted descent)

3.การคลอดหยุดชะงัก(Arrest disorder)

- ระยะลดลงยาวนาน (Prolonged deceleration phase)

- ระยะการเปิดขยายของปากมดลูกหยุดชะงักในระยะหลัง (Secondary arrest of dilatation)

- ระยะการเคลื่อนต่าของส่วนนาหยุดชะงัก(Arrest of descent)

- ระยะการเคลื่อนต่าของส่วนนาล้มเหลว (Failure of descent)

ภาวะแทรกซ้อน(ขึ้นกับระยะเวลาคลอด)

ต่อมารดา

- ติดเชื้อ

- หนทางคลอดชีกขาด

- ตกเลือด(จากมดลูกหดรัดตัวไม่ดี / การฉีกขาด)..อาจถึงขั้นช็อค

- ภาวะแทรกซ้อนจากการดมยา /เพิ่มอัตราการตาย

ต่อทารก

- Fetal distress

- ภาวะแทรกซ้อนในระยะคลอด

- เพิ่มอัตราการตายปริกาเนิด

- Infection

-Birth injury / อันตรายต่อสมอง กล้ามเนื้อ กระดูกหัก

การป้องกันและการรักษา

1.Good antenatal care

2.ไม่ควรกระตุ้นการเจ็บครรภ์คลอดก่อนที่ปากมดลูกจะพร้อม (Unripen cervix)

3.False labour pain ให้รักษาด้วย Rest and sedation

4.ในระยะเจ็บครรภ์คลอด

- ดูแลด้านจิตใจเพื่อลดความวิตกกังวล/ให้ยาระงับปวดอย่างเหมาะสม

-IV Fluid เพื่อรักษาสมดุลของอิเลคโตรไลท์และภาวะขาดน้าจากการ NPO

- ติดตามความก้าวหน้าของการคลอด

- ติดตาม FHS

5.SHOULDER DYSTOCIA

สาเหตุ
เกิดจากไหล่กว้างเกินไปหรือกระดูก เชิงกรานมีขนาดเล็กเกินไป

ปัจจัยเสี่ยง

1.องค์ประกอบก่อนการคลอด

1.ทารกตัวโต/เคยคลอดทารกตัวโตมาก่อน

2.มารดาอ้วน/น้าหนักเพิ่มมาก

3.มารดาป็นเบาหวาน

4.ครรภ์เกินกาหนด>42 สัปดาห์

5.มารดาอายุมาก

6.ทารกเพศชาย

2.องค์ประกอบในการคลอด

1. มีความผิดปกติในระยะที่ 1 ของการคลอด

2.Protraction disorder

3.Arrest disorder

4.ระยะที่ 2 ของการคลอดยาวนาน

5.ได้รับ Oxytocin เสริมการหดรัดตัวของมดลูก

6.การช่วยคลอดด้วย Midforceps V/E

ภาวะแทรกซ้อน

ต่อทารก

1.ขาดออกซิเจนขณะคลอด

2.บาดเจ็บขณะคลอด….กระดูกต้นแขนหรือกระดูกไหปลาร้าหัก

3 มีปัญหาทาลายระบบประสาท ชัก ทาให้มีสติปัญญาบกพร่อง

4.อาจตายขณะคลอด

ต่อมารดา

1.การฉีกขาดของปากมดลูก / ช่องคลอด / ฝีเย็บ

2.เสียเลือดมาก

Floating topic

Klikk her for å sentrere kartet ditt.
Klikk her for å sentrere kartet ditt.