สังคมความรู้ (Knowlege Society)
ความหมายของสังคมความรู้
สังคมความรู้ หมายถึง สังคมที่มีการเข้าถึงและใช้ประโยชน์จากเครือข่ายสารสนเทศสูง
ยุคของสังคมความรู้
สังคมความรู้ยุคที่ 1 เป็นสังคมความที่มีพลังและอำนาจอยู่ด้วยกัน
Knowledge Access คือ การเข้าถึงความรู้ด้วยวิธีการต่างๆ ได้แก่ การเข้าถึงความรู้ทาง Internet หรือ ICT Connectivity ต่าง ๆ
Knowledge Validation คือ การประเมินความถูกต้องของความรู้ ความรู้มีทั้งของจริงและของหลอd
Knowledge Valuation คือ การตีค่า การตีความรู้ ว่าเมื่อมีการใช้ความรู้นั้นแล้วมีความคุ้มค่าหรือไม่
Knowledge Optimization คือ การท าความรู้ให้ง่ายที่จะใช้ การน าความรู้ออกมาเป็นกฎเกณฑ์ ระเบียบต่าง ๆ ต้องมีพื้นฐานมาจากความรู้ เช่น การท าคู่มือต่าง ๆ
Knowledge Dissemination คือ การกระจายความรู้ ปัจจุบันความรู้เป็นสมบัติสาธารณะที่ทุกคนสามารถเข้าถึงได้
สังคมความรู้ยุคที่ 2 เป็นสังคมความรู้แบบพอเพียง สมดุล บูรณาการ ประชาชนและทุกภาคส่วนมีบทบาทในการร่วมกันเป็นเจ้าของ
มีการสะสมความรู้ภายในสังคม
มีการถ่ายโอนความรู้ภายสังคม
มีการสร้างสรรค์ความรู้ใหม่ในสังคม
มีการประยุกต์ความรู้มาใช้ภายในสังคม
ลักษณะสังคมแห่งการเรียนร
ไม่จำกัดขนาดและสถานที่ตั้ง
เน้นการจัดการเรียนรู้เป็นปัจจัยหลัก
ประชาชนได้รับโอกาสการพัฒนา (Key Individuals)
สถาบันทางสังคมในพื้นที่เป็นตัวหลักในการริเริ่ม/ด าเนินการ (Key Institutions)
มีกลุ่มภาคประชาชนเป็นแกนกลาง (Core Groups) เพื่อรวมตัวกันจัดกิจกรรมพัฒนาชุมชน
มีการพัฒนานวัตกรรมและระบบการเรียนรู้
มีภาคีเครือข่ายที่ร่วมด าเนินการอย่างต่อเนื่อง
การริเริ่ม/การเปลี่ยนแปลงมีอยู่ตลอดเวลา
สถานศึกษาเป็นส่วนหนึ่งของชุมชนแห่งการเรียนรู้
ความรับผิดชอบเป็นหน้าที่ของบุคคลและชุมชนร่วมกัน
ทุกคนเป็นครูและผู้เรียน
ความรู้ (Knowledge)
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ “ความรู้”
ความหมายของข้อมูล (Data) คือ สัญลักษณ์ที่ยังไม่ได้แปรความ
ข้อมูลสามารถแบ่งเป็น 5 ประเภท ดังน
1) ข้อมูลตัวเลขหรือข้อมูลเชิงจำนวน
2) ข้อมูลตัวอักษรหรือข้อมูลที่เป็นข้อความ
3) ข้อมูลกราฟิก
4) ข้อมูลภาพลักษณ
5) ข้อมูลเสียง
ความหมายของสารสนเทศ (Information)
หมายถึง
ข้อมูล ข่าวสาร ข้อเท็จจริง ความรู้ต่างๆ ที่ผ่านการประมวลผลแล้วและสามารถน ามาใช้ประโยชน์ได้
ความหมายของความรู้(Definition of Knowledge)
ส่วนผสมที่เกิดจาก
ประสบการณ์การท างาน และประสบการณ์ที่เกิดขึ้นใหม่ที่พร้อมจะถูกน าไปใช้เพื่อการตัดสินใจ
ประเภทรูปแบบความรู้(Type of Knowledge)
1) Tacit Knowledge
2) Explicit Knowledge
กระบวนการจัดการความรู้(Processes of Knowledge)
1.การบ่งชี้ความรู้
2.การสร้างและแสวงหาความรู้
3.การจัดความรู้ให้เป็นระบบ
4.การประมวลและกลั่นกรองความรู้
5.การเข้าถึงความรู้
6.การจัดการความรู้ในองค์กรการแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู
7.การเรียนรู้ ควรท าให้การเรียนรู้เป็นส่วนหนึ่งของงาน