ภาษีเงินได้
บุคคลธรรมดา 2560

1 การหักค่าใช้จ่ายของเงินเดือนค่าจ้าง ค่านายหน้าอันเป็นเงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40(1) และ 40(2)

1 การหักค่าใช้จ่ายของเงินเดือนค่าจ้าง ค่านายหน้าอันเป็นเงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40(1) และ 40(2)

ร้อยละ 50 ของเงินได้แต่ไม่เกิน 100,000 บาท

2. ปรับปรุงการหักค่าใช้จ่ายของเงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40(3)

2. ปรับปรุงการหักค่าใช้จ่ายของเงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40(3)

ขยายเพิ่มให้ค่าแห่งกู๊ดวิลล์ ค่าแห่งลิขสิทธิ์ หรือสิทธิอย่างอื่น สามารถหักค่าใช้จ่าย เป็นการเหมาได้ร้อยละ 50 ของเงินได้ดังกล่าวแต่ไม่เกิน 100,000 บาท หรือหักค่าใช้จ่ายตามความจำเป็นและสมควรได้

Subtopic

3. ปรับปรุงการหักค่าลดหย่อน

3. ปรับปรุงการหักค่าลดหย่อน

ค่าลดหย่อนสำหรับผู้มีเงินได้ 60,000 บาท

ค่าลดหย่อนสำหรับคู่สมรสของผู้มีเงินได้ 60,000 บาท

ค่าลดหย่อนบุตรเป็นคนละ 30,000 บาท โดยไม่จำกัดจำนวนบุตร และยกเลิกค่าลดหย่อนการศึกษาบุตร (จากเดิมที่ให้ หักลดหย่อน 2,000 บาท/คน)

ในกรณีที่คู่สมรสต่างฝ่ายต่างมีเงินได้ ให้หักลดหย่อนรวมกันได้ไม่เกิน 120,000 บาท

กองมรดก ให้หักลดหย่อนได้ 60,000 บาท

ห้างหุ้นส่วนสามัญหรือคณะบุคคลที่มิใช่นิติบุคคลลดหย่อนได้คนละ 60,000 บาท แต่รวมกันต้องไม่เกิน 120,000 บาท

5. ปรับปรุงเกณฑ์เงินได้พึงประเมินขั้นต่ำที่ผู้มีเงินได้ต้องยื่นแบบแสดงรายการภาษี

5. ปรับปรุงเกณฑ์เงินได้พึงประเมินขั้นต่ำที่ผู้มีเงินได้ต้องยื่นแบบแสดงรายการภาษี

5.1 กรณีมีเงินได้จากการจ้างแรงงาน (เงินเดือน ค่าจ้าง) เพียงประเภทเดียว

หากผู้มีเงินได้มีคู่สมรสต้องยื่นแบบฯ เมื่อมีเงินได้รวมกันเกิน 200,000 บาท

หากผู้มีเงินได้เป็นโสดต้องยื่นแบบฯ เมื่อมีเงินได้เกิน100,000 บาท

5.2 กรณีมีเงินได้จากการจ้างแรงงาน (เงินเดือน ค่าจ้าง) และมีเงินได้ประเภทอื่นด้วย หรือ กรณีมีเฉพาะเงินได้ประเภทอื่นที่ไม่ใช่เงินได้จากการจ้างแรงงาน

หากผู้มีเงินได้เป็นโสดต้องยื่นแบบฯ เมื่อมีเงินได้เกิน 60,000 บาท

หากผู้มีเงินได้มีคู่สมรสมต้องยื่นแบบฯ เมื่อมีเงินได้รวมกันเกิน 120,000 บาท

กรณีกองมรดกของผู้ตายที่ยังมิได้แบ่งต้องยื่นแบบฯเมื่อมีเงินได้เกิน 60,000

กรณีห้างหุ้นส่วนสามัญหรือคณะบุคคลที่ไม่ใช่นิติบุคคลมต้องยื่นแบบฯเมื่อมีเงินได้เกิน 60,000 บาท

4. ปรับปรุงขั้นเงินได้ และบัญชีอัตราภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา

4. ปรับปรุงขั้นเงินได้ และบัญชีอัตราภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา

เงินได้สุทธิ 0-150,000 ได้รับการยกเว้นภาษี

เงินได้สุทธิ 150,000-300,000 อัตราภาษี (ร้อยละ) 5%

เงินได้สุทธิ 300,000-500,000 อัตราภาษี (ร้อยละ) 10%

เงินได้สุทธิ 500,001-750,000 อัตราภาษี (ร้อยละ) 15%

เงินได้สุทธิ 750,001-1,000,000 อัตราภาษี
(ร้อยละ) 20%

เงินได้สุทธิ 1,000,001 - 2,000,000 อัตราภาษี
(ร้อยละ) 25%

เงินได้สุทธิ 2,000,001-5,000,000 อัตราภาษี
(ร้อยละ) 30%

เงินได้สุทธิมากกว่า 5,000,001 อัตราภาษี (ร้อยละ) 35%

Main topic