สำรวจอาการที่เกิดจากการนอนหลับไม่เพียง
ของนักศึกษาชั้นปีที่ 1 หลักสูตรบัญชีมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
ความสำคัญและที่มาของปัญหา
การนอนหลับเป็นความจํา เป็นขั้นพื้นฐานของ
มนุษย์ทุกคน มนุษย์ใช้เวลาถึงหนึ่งในสามของชีวิตใน
การนอนหลับ คุณภาพการนอนหลับมีความสําคัญและ
เป็นตัวบ่งชี้ถึงภาวะสุขภาพ ความผาสุก และวิถีการ
ดําเนินชีวิตที่มีสุขภาพดีของบุคคล ไม่เป็นไปตามเกณฑ์
หากบุคคลใดมีปัญหาด้านการนอนจะทําให้มี
สุขภาพที่ไม่แข็งแรง กล่าวคือบุคคลนั้นอาจมีอาการ
เพลีย เหนื่อยง่าย อ่อนล้า และง่วงนอนในตอนกลางวัน
เพิ่มขึ้น โดยเฉพาะวัยรุ่นที่มีอายุระหว่าง 18-25 ปี เด็ก
วัยรุ่นควรมีเวลานอนโดยเฉลี่ยวันละ 8 ถึง 10 ชั่วโมง
เพื่อช่วยคงความสมดุลของระดับฮอร์โมนที่มีความ
สําคัญต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการทางเพศ
ซ่อมแซมส่วนที่สึก หรอ ของร่างกาย
ดังนั้น คณะผู้วิจัยจึงสนใจที่จะศึกษาอาการที่เกิด
จากการนอนหลับไม่เพียงพอของนักศึกษาชั้นปีที่ 1
มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ เพื่อสํารวจปริมาณนักศึกษา
ที่นอนหลับไม่เพียงพอ และศึกษาอาการที่เกิดกับ
นักศึกษาที่นอนหลับพักผ่อนไม่เพียงพอ
วัตถุประสงค์ของการวิจัย
เพื่อสํารวจปริมาณนักศึกษาที่นอนหลับไม่เพียงพอ
เพื่อศึกษาอาการท่ีเกิดกับนักศึกษา ที่นอนหลับพักผ่อนไม่เพียงพอ
ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
INFORMATION CONSOLIDATION THEORY OF SLEEP ทฤษฎีนอนหลับเพื่อจัดการข้อมูลที่ได้รับในแต่ละวัน
Repair and Restoration Theory of Sleep
ทฤษฎีที่ว่าด้วย การซ่อมแซมและการฟื้นฟู
งานวิจัยปัจจัยที่มีผลต่อคุณภาพการนอน
งานวิจัยผลของโปรแกรมส่งเสริมการจัดการตนเองต่อคุณภาพการนอนหลับ
ผลการวิจัยเรื่องการนอนหลับกับการทำงานของสมองย้ำถึงความสำคัญของการนอนต่อสุขภาพอนามัยและโรค
คำถามของการวิจัย
1. ปัจจัยใดบ้างที่ส่งผลต่อการนอนหลับ
2. อาการใดบ้างที่พบในนักศึกษาที่นอนหลับไม่เพียงพอ
3.นักศึกษามีการนอนหลับเฉลี่ยกี่ชั่วโมงต่อวัน
สมมติฐาน
1.ปัจจัยทางด้านสิ่งแวดล้อมส่งผลต่อการนอนหลับ
2. การนอนหลับไม่เพียงพอทำให้ร่างกายไม่สดชื่นในตอนตื่นนอน
3. นักศึกษาส่วนใหญ่มีการนอนหลับเฉลี่ย 3-4 ชม.\วัน
ระเบียบวิจัย
วิธีวิจัย
การวิจัยเชิงสำรวจ การวิจัยเชิงปริมาณ การวิจัยเชิงคุณภาพแหล่งข้อมูล
ระเบียบวิจัย
เก็บข้อมูลแบบปฐมภูมิ โดยการใช้แบบสอบถามในการเก็บข้อมูลขากแหล่งข้อมูล
ประชากรที่จะศึกษา
นักศึกษาชั้นปีที่ 1 สำนักการจัดการ หลักสูตรบัญชี มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ จำนวน 50 คน
วิธีการเก็บข้อมูล
แชร์ลิงค์แบบสอบถามลงในกลุ่ม เพื่อให้นักศึกษากดเข้าไปทำ
การประมวลผลข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูล
ประมวลผลข้อมูลออกมาเป็นกราฟโดยโปรแกรม EXCEL และนำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์ว่าสมเหตุสมผลกับสมมติฐานหรือไม่
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากการวิจัย
1. ได้ศึกษาเกี่ยวกับปัญหาการนอนหลับไม่เพียงพอ
2. ได้ทราบถึงแนวทางการแก้ไขปัญหาของการนอนหลับไม่เพียงพอ
3. ได้ทราบถึงสาเหตุของการนอนหลับไม่เพียงพอ
การให้คำนิยามเชิงปฏิบัติที่จะใช้ในการวิจัย
1.โรคนอนไม่หลับ (INSOMNIA)
2. ภาวะหลับช้า (INITIAL INSOMNIA)
3. ภาวะตื่นกลางคืน (MIDDLE INSOMNIA)
4. ภาวะตื่นเช้ากว่าปกติ (TERMINAL INSOMNIA)
ขอบเขตของการวิจัย
ขอบเขตเกี่ยวกับเนื้อหา
ศึกษาเกี่ยวกับอาการที่เกิดจากการนอนหลับไม่เพียงพอ
ขอบเขตเกี่ยวกับกลุ่มตัวอย่าง
นักศึกษามหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ สำนักวิชาการจัดการ สาขาบัญชี ชั้นปีที่ 1 จำนวน 50 คน
ขอบเขตเกี่ยวกับตัวแปรที่ต้องศึกษา
ตัวแปรต้น : การนอนหลับไม่เพียงพอ
ตัวแปรตาม : อาการที่เกิดขึ้น
ตัวแปรควบคุม : ระดับการศึกษา (นักศึกษาบัญชีปี 1),อายุ 18-19