สถิติเพื่อการวิจัย
Basic of Statistic and Data collection

ประเภทของข้อมูล

นามบัญญัติ

เป็นระดับการวัดที่หยาบที่สุด จัดข้อมูลหรือตัวแปรออกเป็นกลุ่ม

เรียงอันดับ

เป็นข้อมูลที่ใช้จัดอันดับของสิ่งต่างๆ โดยเรียงอันดับของข้อมูลตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้จากสูงสุดไปหาต่ำสุด

อันตรภาค

เป็นข้อมูลที่บอกถึงความแตกต่างระหว่างค่าที่วัดได้แต่ละช่วง ที่มีความห่างเท่ากันทุกช่วง เป็นข้อมูลที่เป็นตัวเลข สามารถ บวก ลบ กันได้แต่ไม่มีศูนย์แท้

อัตราส่วน

เป็นข้อมูลที่ใช้วัดในระดับสูง สามำรถบวก ลบ คูณ หาร ได้ และมีศูนย์แท้

ข้อพิจารณาการใช้สถิติเพื่อการวิจัย

ทราบวัตถุประสงค์ของการนำวิธีการทางสถิติมาใช้

ทราบประเภทของสถิติที่เหมาะสมกับวัตถุประสงค์

สามารถกำหนดสถานภาพของตัวแปรที่ศึกษา

รู้ลักษณะของข้อมูลว่ามีการวัดระดับใด

รู้หลักการเบื้องต้นของการใช้สถิติ

หลักการเบื้องต้นที่สำคัญของการใช้สถิติ

หลีกเลี่ยงการเสนอซ้ำซาก

ตีความหมาย

เสนอรูปแบบมาตรฐานของแต่ละวิธีการหรือที่วิชาการยอมรับ

แปลผลค่าสถิติต่างๆได้ถูกต้อง

วัตถุประสงค์การใช้สถิติ

พรรณนาคุณสมบัติของหน่วยศึกษา

ศึกษาความแตกต่างระหว่างกลุ่มต่างๆที่เป็นเป้าหมายของการศึกษา

ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร

ศึกษาการประมาณค่า

ตัวแปร

ประเภทตัวแปรตามบทบาท

ตัวแปรอิสระ

ตัวแปรตาม

ประเภทตัวแปรตามระดับการวัด

ตัวแปรกลุ่ม

ตัวแปรอันดับ

ตัวแปรช่วง

ตัวแปรอัตราส่วน

ความหมาย

สถิติ หมำยถึง ตัวเลขหรือข้อมูลที่ได้จากการเก็บรวบรวม

ประเภทของสถิติ

สถิติเชิงพรรณรา

เกี่ยวข้องกับการทำตาราง การพรรณนา การอธิบายข้อมูล

สถิติที่ใช้ เช่น ค่าเฉลี่ย ค่ามัธยฐาน ค่าฐานนิยม ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าพิสัย ฯลฯ

สถิติพารามิเตอร์

วิเคราะห์ข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างเพื่อนำไปสู่การลงนัยสรุปไปยังประชากร

โดยมีการนำทฤษฎี ความน่าจะเป็นมาประยุกต์ใช้ เช่น การประมาณค่า การทดสอบสมมติฐาน เป็นต้น

สถิตไร้พารามิเตอร์

เป็นวิธีการทางสถิติที่สามารถนำมาใช้ได้โดยปราศจากข้อตกลงเบื้องต้นทั้ง 3 ประการข้างต้น

สถิติที่อยู่ในประเภทนี้ เช่น ไคสแควร์, Median Test, Sign test ฯลฯ

Basic of Statistic

Statiscal data

ข้อมูลสรุปจากการวิเคราะห์กลุ่มข้อมูล เพื่อแสดงลักษณะกลุ่มข้อมูล

Statistics

ศาสตร์การนำข้อมูลจากตัวอย่างไปใช้คาดคะเนประชากร

Descriptive statistic

วิธีทางสถิติในการสรุปสิ่งที่ศึกษาจากข้อมูลที่รวบรวม (ขอบเขตจำกัดช่วงเวลา/สถานที่)

Inferential statistic

วิธีทางสถิติในการสรุปลักษณะประชากรจากข้อมูลตัวอย่าง ด้วยทฤษฎีความน่าจะเป็นในการประมาณค่าสถิติจากตัวอย่างเพื่ออนุมานลักษณะประชากร (parameter)

Statistical methods

Data collection

Data presentation

Statistical analysis

Statistical interpretation