การประเมิน วิเคราะห์ สังเคราะห์สารสนเทศ
(Evaluate, Analysis, Synthesis)

ลักษณะของสารสนเทศที่ดี

ต้องมีความความถูกต้อง (Accuracy)

มีความน่าเชื่อถือ (Reliable)

ต้องมีความสมบูรณ์ (Completeness)

สอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้ (Relevance)

เข้าถึงได้ง่าย (Accessible)

ตรวจสอบได้ (Verifiability)

ทันต่อความต้องการใช้ (Timeliness)

มีความทันสมัย เป็นปัจจุบัน (Up to date)

หลักเกณฑ์ในการพิจารณาสารสนเทศที่ดี

พิจารณาความน่าเชื่อถือ

ความถูกต้องของสารสนเทศ

ความเที่ยงตรง

พิจารณาแหล่งที่มาของสารสนเทศ

พิจารณาผู้แต่ง

พิจารณาสำนักพิมพ์หรือแหล่งผลิต

พิจารณาขอบเขตเนื้อหา

พิจารณาให้ตรงกับความต้องการ

พิจารณาช่วงเวลาที่เผยแพร่

การเลือกใช้สารสนเทศ

การนำสารสนเทศที่ค้นคว้าได้ไปใช้เพื่อทำรายงานหรือบทนิพนธ์ ต้องผ่านกระบวนการ 3 ขั้นตอน

การประเมินสารสนเทศ (Evaluate)

การวิเคราะห์สารสนเทศ (Analysis)

การสังเคราะห์สารสนเทศ (Synthesis)

การประเมินสารสนเทศ
(Evaluate)

ความหมายของการประเมินสารสนเทศ

การตรวจสอบว่าสารสนเทศที่ได้มานั้น สามารถตอบคำถามที่ตั้งไว้ได้ละเอียดครอบคลุมทุกประเด็น มีคำอธิบายที่เป็นเหตุเป็นผลและมีเอกสารอ้างอิงที่มีความน่าเชื่อถือเพียงใด

ความสำคัญของการประเมินสารสนเทศ

คัดเลือกสารสนเทศที่มีคุณค่า มีความน่าเชื่อถือ

หลักการประเมินสารสนเทศ

พิจารณาว่าเป็นเรื่องที่ตรงกับความต้องการอย่างแท้จริงหรือไม่

พิจารณาว่าเป็นสารสนเทศที่มีความน่าเชื่อถือหรือไม่

ประเมินความน่าเชื่อถือของแหล่งสารสนเทศ

ประเมินความน่าเชื่อถือของผู้เขียน ผู้จัดทำ สำนักพิมพ์

ประเมินความน่าเชื่อถือของทรัพยากรสารสนเทศ

ประเมินความทันสมัยของสารสนเทศ

พิจารณาว่าเนื้อหาของสารสนเทศอยู่ในระดับใด

สารสนเทศปฐมภูมิ (Primary Information)

สารสนเทศทุติยภูมิ (Secondary Information)

สารสนเทศตติยภูมิ (Tertiary Information)

การวิเคราะห์สารสนเทศ
(Analysis)

แยกแยะสารสนเทศที่มีเนื้อหาเดียวกัน

กระบวนการวิเคราะห์สารสนเทศ

การอ่านเนื้อหาของทรัพยากรสารสนเทศที่ผ่านการประเมินแล้วว่า สามารถนำมาใช้งานได้จริงๆ

ดึงเนื้อหาของสารสนเทศที่สอดคล้องกับประเด็นแนวคิดต่างๆ ที่เราต้องการศึกษา

ทำการบันทึกเนื้อหาลงใน บัตรบันทึก

นำบัตรบันทึกมาจัดกลุ่มตามประเด็นแนวคิด
เพื่อใช้ในการเรียบเรียงเนื้อหาของรายงานต่อไป

ขั้นตอนการวิเคราะห์สารสนเทศ

อ่านจับใจความสำคัญของเรื่อง

พิจารณาเนื้อหาสารสนเทศที่สอดคล้องกับประเด็นแนวคิดต่างๆที่ต้องการจะศึกษา

บันทึกสารสนเทศที่สอดคล้องกับเรื่องที่ต้องการ

จัดกลุ่มเนื้อหา

บัตรบันทึกความรู้

วิธีเขียนบัตรบันทึกเนื้อหา

แบบย่อความ (Summary Note) หรือสรุปความ

แบบคัดลอกข้อความ (Quotation Note)

แบบถอดความ (Paraphrase Note)

การสังเคราะห์สารสนเทศ
(Synthesis)

การสังเคราะห์ คืออะไร

การจัดกลุ่มข้อมูลเรื่องเดียวกัน หรือแนวคิดเดียวกันไว้ด้วยกัน จัดกลุ่มอีกครั้ง ในลักษณะลำดับชั้น หรือ รูปแบบของโครงร่าง (outline) รวบรวมหรือสรุปให้ได้ข้อมูล/เนื้อหาใหม่ ตลอดจนนำเสนอในรูปแบบที่เหมาะสม ขั้นตอนนี้จึงต้องเรียนรู้ในเรื่องที่เกี่ยวข้อง ดังนี้

การจัดกลุ่มความสัมพันธ์ของแนวคิด / เรื่อง

การวางโครงร่าง (Outline)

การเขียนการอ้างอิง และบรรณานุกรม

การจัดสารสนเทศโดยทั่วไป

จัดกลุ่ม (ประเด็นใหญ่ / ประเด็นย่อย)

เรียงตามลำดับอักษร

ตามลำดับเวลา (เช่น เหตุการณ์)

ตั้งแต่ต้นจนจบ (เช่น story)

ใช้หลายๆ วิธีข้างต้นผสมผสานกัน

กระบวนการของการสังเคราะห์สารสนเทศ

จัดกลุ่มสารสนเทศที่มีแนวคิดเดียวกัน ไว้ด้วยกัน

นำสารสนเทศที่มีแนวคิดเดียวกันมาจัดกลุ่มอีกครั้ง เพื่อสร้างความสัมพันธ์ตามลำดับชั้น

นำแนวคิดต่างๆ ที่เราได้สร้างความสัมพันธ์ในแต่ละกลุ่มของแนวคิด มารวบรวมเป็นโครงสร้างใหม่ในรูปของโครงร่าง

ประเมินโครงร่างที่ได้ ครอบคลุมครบถ้วนหรือไม่ กรณีไม่ครบถ้วนต้องกลับไปเริ่มที่กระบวนการแสวงหาคำตอบใหม่

การเขียนโครงร่าง (Outline)

องค์ประกอบในการวางโครงร่าง

บทนำ

เนื้อหา

บทสรุป

การนำเสนอสารสนเทศ / การนำเสนอผล

รูปแบบการนำเสนอ

ปัจจุบันมีหลายทางเลือกที่ใช้ในการนำเสนอ

เทคโนโลยีมีบทบาทสำคัญมากขึ้น

ตัวอย่างรูปแบบการนำเสนอ

นิทรรศการ

การแสดงละคร

PPT

點擊這裡將思維導圖置中。
點擊這裡將思維導圖置中。