สังคมความรู้
(Knowiedge Society)
1.นิยามความหมายของสังคมความรู้
(Definition of Knowlrdge Society)
หมายถึง สังคมที่มีการเข้าถึงและใช้ประโยชน์
จากเครือข่ายสารสนเทศสูง จากความรู้ที่มี
บุคลากรทำงานโดยใช้ทักษะและความรู้สูง
2.ยุคของสังคมความรู้
(Knowledge Era)
2.1 สังคมความรู้ยุคที่ 1
เป็นสังคมความรู้ที่มีพลังและอำนาจอยู้ด้วยกัน
เกิดการผลิต มีความสามารถในการแข่งขัน
กลไกตลาดและความอยู่รอด
*ซึ่งมีบุคคลเหล่านี้จะมีความสามารถ5ด้านดังนี้
2.2 สังคมความรู้ยุคที่ 2
เป็นสังคมความรู้แบบพอเพียง สมดุล บูรณาการ
ประชาชนและทุกภาคส่วน มีบทบาทในการร่วมกัน
เป็นเจ้าของและเป็นผู้ใช้ความรู้ให้เป็นพลัง มีความเป็นอิสระ
และพึ่งตนเอง
*ลักษณะสำคัญของสังคมความรู้ยุคที่2
3.ลักษณะสังคมแห่งการเรียนรู้
3.1 ไม่จ ากัดขนาดและสถานที่ตั้ง
3.2 เน้นการจัดการเรียนรู้เป็นปัจจัยหลัก
3.3 ประชาชนได้รับโอกาสการพัฒนา (Key Individuals)
3.4 สถาบันทางสังคมในพื้นที่เป็นตัวหลักในการริเริ่ม/ดำเนินการ (Key Institutions)
3.5 มีกลุ่มภาคประชาชนเป็นแกนกลาง (Core Groups) เพื่อรวมตัวกันจัดกิจกรรมพัฒนาชุมชน
3.6 มีการพัฒนานวัตกรรมและระบบการเรียนรู้
3.7มีภาคีเครือข่ายที่ร่วมด าเนินการอย่างต่อเนื่อง
3.8 การริเริ่ม/การเปลี่ยนแปลงมีอยู่ตลอดเวลา
3.9 สถานศึกษาเป็นส่วนหนึ่งของชุมชนแห่งการเรียนรู้
3.10 ความรับผิดชอบเป็นหน้าที่ของบุคคลและชุมชนร่วมกัน
3.11 ทุกคนเป็นครูและผู้เรียน
บทสรุป
ความรู้นับว่าเป็นสิ่งที่จำเป็นในสังคมความรู้ ผู้ที่มีความสามารถในการจัดการความรู้ได้ดีจะ
ช่วยให้สามารถพัฒนาศักยภาพตนเอง ช่วยเหลือผู้อื่นในสังคมหรือองค์กรการเรียนรู้ได้ดี การสะสม
ความรู้ถ่ายโอนความรู้สร้างสรรค์ความรู้ใหม่ และการประยุกต์ความรู้มาใช้ภายในสังคมจะช่วยสร้าง
และพัฒนาบุคคลหรือองค์กรให้มีความรู้ ความสามารถ รวมถึงทักษะต่างๆ ในการดำรงชีพในสังคม
ความรู้ในศตวรรษที่ 21
5. กระบวนการจัดการความรู้
(Processes of Knowledge)
4. ความรู้
(Knowledge)
4.1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ “ความรู้”
ข้อมูลสารสนเทศและความรู้ มีความหมายที่เกี่ยวข้องกันจนในบางครั้งไม่สามารถแยกออก
จากกันได้ซึ่งคำทั้ง3คำ
4.2 ความหมายของความรู้(Definition of Knowledge)
Davenport and Prusak กล่าวว่า ความรู้ หมายถึง
ส่วนผสมที่เกิดจาก
ประสบการณ์การทำงาน และประสบการณ์ที่เกิดขึ้นใหม่ที่พร้อมจะถูกนำไปใช้เพื่อการตัดสินใจและ
การกระทำต่างๆ
Haraldsson