สังคมความรู้ Knowledge Society
นิยามและความหมาย
มีการจัดระบบความรู้ที่ดี
เป็นการพัฒนาการจากบุคลากรที่มีความรู้สูง
ใช้ความรู็ตัดสินใจเพื่อแก้ไขปัญหาและพัฒนา
สังคมมีการเข้าถึงและประโยชน์จากเครือข่ายสารสนเทศสูง
กะบวนการจัดความรู้
1. การบ่งชี้ความรู้
2. การสร้างและแสวงหา
3.การจัดความรู้ให้เป็นระบบ
4. การประมวลและกรองความรู้
5.การเข้าถึงความรู้ได้ง่ายและสะดวก
6. การจัความรู้เพื่อแบ่งปันความรู้
7. การเรียนรู้เป็นส่วนหนึ่งของงาน
ความรู้ Knowledge
ข้อมูลารสนเทศ
มีความเกี่ยวข้อง
ไม่สามารถแย่งออกจากกันได้
ข้อมูล
บันทึกแสดงความเป็นไป
ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับเหตุการณ์
มี 5 ประเภท
ข้อมูลตัวเลขหรือข้อมูลคำนวณ
ข้อมูลอักษรหรือข้อความ
ข้อมูลกราฟฟิก
ข้อมูลภาพลักษณ์
ข้อมูลเสียง
ความหมายของสารสนเทศ
แก่นหรือเนื้อหา
มีการกลั่นกรอง
ผ่านการจัดการตีความ
ข้อมูงข่าวสาร
ความหมายของความรู้
ส่วนผสมที่เกิดจากประสบการณ์
ความเข้าใจในเรื่องบางเรื่อง
แปรผลมาจากข้อมูลสารสนเทศ
ประเภทรูปแบบความรู้
Tacit Knowledge
ความรู้ที่ซ่อนเร้นในตัวบุคคล
ความรู็ที่ได้จากประสบการณ์
ความรู้ที่สามารถอธิบายได้
Explicit
ความรู้ที่เด่นชัด
ความรู้ที่บันทึกไว้
มี 4 ระดับ
ความรู้ด้านภาษา
ความรู้เกี่ยวกับสิ่งรอบตัว
ความรู้ด้านวิชาการ
ความรู้ใหม่
ลักษณะสังคมแห่งการเรียนรู้
สถาบันในพื้นที่เป็นตัวริเริ่มหลัก
กลุ่มภาคประชาชนเป็นแกนกลาง
ไม่จำกัดขนาดและที่ตั้ง
พัฒนานวัตกรรมและระบบการเรียนรู้
เน้นการเรียนรู้เป็นหลัก
เป็นการรับผิดชอบของทุกคน
มีภาคีเครือข่ายร่วมอย่างต่อเนื่อง
ประชาชนได้รับโอกาสพัฒนา
สถานศึกษาเป็นชุมชนการเรียนรู้
มีการริเริ่ม/เปลี่ยนแปกลงตลอด
ทุกคนเป็นครูและผู้เรียน
ยุคของสัมคมความรู้
ยุคที่1
นักวิชาการมีบทบาทในการจัดดการความรู้
พลังและอำนาจอยู่ด้วยกัน
มีความสามารถในการแข่งขัน
ความสามารถ 5 ด้าน
1. Knowledge Access การเข้าถึงความรู้ด้วยวิธีต่างๆ
2.knowledge Validation การประเมินความถูกต้องของความรู้
3. Knowledge Valuation การตีค่า
4. Knowledge Optimization ทำให้ความรู้ง่ายขึ้น
5. Knowledge Dissemination คือ การกระจายความรู้
ยุคที่ 2
เป็นสังคมความรู้แบบพอเพียง
ใช้ความรู้ให้เป็นพลัง เป็นอิสระ
นักวิชาการมีบทบาทเป็น Knowledge Broker
ลักษณะสำคัญ
สะสมความรู้ภายในสังคม
มีการถ่ายโอนความรู้
มีการสร้างสรรค์ความรู้ใหม่
มีการประยุกต์ความรู้