ค่าสถิติในงานวิจัย
ค่ามัธยฐาน
ค่ามัธยฐาน เป็ นค่ากลางของข้อมูลที่ได้จากการ
พิจารณาต าแหน่งของข้อมูลที่อยู่ตรงกลางโดยที่
ค่ามัธยฐานยังสามารถใช้เป็ นตัวแทนของ
ข้อมูลได้เป็นอย่างดี ในกรณีที่ข้อมูลมีการ
กระจายที่ผิดปกติ
ข้้อมูลต้องทำการเรียงลำดับตามปริมาณ
จากมากไปน้อย หรือจากน้อยไปมากก็ได้
สถิติพื้นฐาน
สถิตพิ้
นฐาน ได้แก่ สถิติวิเคราะห์เพื่อแสดงความหมายทั่วไปของข้อมูล
และใช้เป็นพื้นฐานในการคำนวณสถิติขั้นสูงต่อไป
พิสัย
พิิสัย หมายถึง การหาการกระจายของข้อมูลโดยนำ
ข้อมูลที่มีค่าสูงที่สุด ลบกับข้อมูลที่มีค่าต่ำที่สุด เพื่อให้
ได้ค่าที่เป็นช่วงของการกระจาย ซึ่งสามารถบอกถึง
ความกว้างของข้อมูลชุดนั้นๆ
ค่าเฉลี่ยเลขคณิต
ค่าเฉลี่ยเลขคณิต หรือที่เราเรียกกันย่อๆ ว่า
ค่าเฉลี่ย เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ เป็นค่ากลาง
ทางสถิติค่าหนึ่ง ที่นิยมใช้ในการวิเคราะห์สถิต
เหมาะที่จะนำมาใช้เป็นค่ากลางของข้อมูล เมื่อข้อมูล
นั้นๆ ไม่มีค่าใดค่าหนึ่งหรือหลายๆ ค่าซึ่งสูงหรือต่ำกว่าค่าอื่นๆ
ที่เหลืออย่างผิดปกติ
ข้อจำกัด เช่น ถ้าข้อมูลมีการกระจายมาก
หรือข้อมูลบางตัวมีค่ามากหรือน้อยจนผิดปกติ
หรือข้อมูลมีการเพิ่มขึ้ นเป็นเท่าตัวค่าเฉลี่ยเลขคณิต
จะไม่สามารถเป็นค่ากลางหรือเป็นตัวแทนที่ดีของข้อมูลได้
การหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตของข้อมูลที่ไม่ได้แจกแจงความถี่หาได้โดยตรง
จากข้อมูลที่มีอยู่ทั้งหมด โดยการหารผลรวมของข้อมูลทั้งหมดด้วยจ านวน
ข้อมูลที่มีอยู่ กล่าวคือ ถ้าให้ X1
, X2
, X3
,……..XN
เป็ นข้อมูล N จ านวนจาก
ประชากร (Population) และข้อมูล n จำนวนจากตัวอย่าง (Sample) ซึ่ง
เป็นตัวแทนของประชากร
ฐานนิยม
การหาค่าฐานนิยม(Mo) เมื่อข้อมูลไม่ได้มีการแจกแจงความถี่
ในกรณีที่ข้อมูลไม่ได้มีการแจกแจงความถี่ วิธีการหาค่าฐานนิยม(Mo)
สามารถท าได้โดยการนับจำนวนข้อมูล ซึ่งข้อมูลชุดใดมีจำนวนซ้ากันมากที่สุด
ก็จะเป็นค่าฐานนิยม
ความเบี่ยงเบน มาตรฐาน
เป็นค่าวัดการกระจายที่ส าคัญทางสถิติ เพราะเป็นค่าที่ใช้บอกถึง
การกระจายของข้อมูลได้ดีกว่าค่าพิสัย และค่าส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ย
การหาส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน(S.D.) ในกรณีข้อมูลไม่ได้มีการแจก
แจงความถี่