การสืบค้นสารสนเทศและความรู้

การสืบค้นสารสนเทศจากฐานข้อมูลบรรณานุกรมออนไลน์ (Online Public Access Catalog:OPAC)

เป็นรูปแบบหนึ่งของเครื่องมือช่วยค้นทรัพยากรสารสนเทศของห้องสมุดหรือศูนย์สารสนเทศ

มีชุดคำสั่งการสืบค้นที่ใช้ง่าย สะดวก มีรายการทางเลือกของขั้นตอนการทำงานอยู่หน้าจอ

บางห้องสมุดได้ออกแบบ OPAC ให้มีลักษณะเป็น Graphic User Interface (GUI) เพื่อการใช้ที่ง่าย และสะดวกยิ่งขึ้น และสามารถสืบค้นได้โดยผ่านทางอินเทอร์เน็ต เรียกว่า Web Pac

วิธีการสืบค้น

จากหน้าจอรายการหลักของ OPAC ให้เลือกรายการ
ที่ต้องการจะใช้เป็นทางเลือกในสืบค้นจากเมนู

ป้อนข้อมูลที่ต้องการสืบค้นตามรายการที่ใช้เป็นทางเลือกลงในช่องสี่เหลี่ยม แล้วคลิกเม้าส์ที่คำว่าค้นหา หรือสืบค้น และแสดงผลการสืบค้นบนหน้าจอ พร้อมทั้งบอกจำนวนรายการที่ค้นหาได้

หากต้องการได้รายละเอียดโดยย่อของรายการใด ให้คลิกเม้าส์ที่รายการที่ต้องการ ระบบจะแสดงรายละเอียดของรายการดังกล่าว

หากต้องการได้รายละเอียดที่สมบูรณ์ของรายการใด ให้คลิกเม้าส์ที่รายการที่ต้องการ ระบบจะแสดงรายละเอียดที่สมบูรณ์ของรายการนั้นๆ

ข้อมูลที่ได้จากการสืบค้น

ข้อมูลบรรณานุกรม (Bibliographic description)
ของทรัพยากรสารสนเทศที่ตีพิมพ์และไม่ตีพิมพ์

ชื่อผู้แต่ง (Author)

ชื่อเรื่อง (Title)

พิมพลักษณ์ (Imprint)

สถานภาพ (Status)

เลขเรียกหนังสือ (Call number)

รูปเล่ม (Description)

หมายเหตุ (Note)

สถานที่ (Location)

ชื่อวารสาร (Journal)

จัดทำขี้นเพื่อบริการสำหรับผู้ที่ต้องการสืบค้นสารสนเทศ โดยไม่มีข้อจำกัดในด้านระยะทาง

หัวเรื่อง (Subject)

เลขมาตรฐาน (ISBN)

ข้อมูลดรรชนีวารสาร (Periodical Index)
ของบทความในวารสารภาษาไทย

ชื่อผู้แต่ง (Author)

ชื่อเรื่อง (Title)

ปี (Year)

ชื่อห้องสมุดที่บอกรับวารสารชื่อนั้นๆ
(Library that have this journal)

สถานที่ (Location)

เลขมาตรฐานสากลประจำวารสาร (ISSN)

หัวเรื่อง (Subject)

ฐานข้อมูลออนไลน์
(Online Database)

เป็นแหล่งสารสนเทศที่มีขนาดใหญ่และขอบเขตกว้างขวาง

ผู้ใช้บริการสามารถดาวน์โหลดหรือพิมพ์ข้อมูลได้ทันที

ลักษณะฐานข้อมูลออนไลน์ไว้บริการผู้ใช้

ฐานข้อมูลออนไลน์ที่ห้องสมุดหรือศูนย์สารสนเทศบอกรับสมาชิก

บอกรับหรือซื้อฐานข้อมูลมาให้บริการกับผู้ใช้

มีการจำกัดระยะเวลาในการใช้

ฐานข้อมูลสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา หรือฐานข้อมูล ThaiLIS (Thai Library Integrated System)

เป็นฐานข้อมูลที่สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาและโครงการ ThaiLIS เช่าใช้ฐานข้อมูล

สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษารับผิดชอบค่าใช้จ่าย เพื่อให้มหาวิทยาลัยของรัฐร่วมกันใช้บริการสืบค้นสารสนเทศ

ฐานข้อมูลทดลองใช้

เป็นฐานข้อมูลที่ห้องสมุดหรือศูนย์สารสนเทศนำมาทดลองใช้ก่อน ก่อนที่จะตัดสินใจซื้อหรือสมัครเป็นสมาชิกของฐานข้อมูลนั้น

การสืบค้นฐานข้อมูลออนไลน์

วิเคราะห์เรื่องที่ต้องการสืบค้น และกำหนดคำสำคัญเพื่อใช้ในการค้น

เลือกค้นจากฐานข้อมูลที่เหมาะสม

ลงมือสืบค้น

การใช้เมนูในการสืบค้น

การสืบค้นโดยการพิมพ์คำสั่ง

แสดงผลการสืบค้น

การแสดงผลแบบเต็มรูปแบบ

การแสดงผลแบบย่อ

การแสดงผลแบบอิสระ

เลือกรายการที่ตรงกับความต้องการและบันทึกผลข้อมูล

การสืบค้นสารสนเทศบนอินเทอร์เน็ต

อินเทอร์เน็ตเป็นแหล่งรวบรวมเว็บไซต์ ซึ่งเก็บข้อมูลต่างๆไว้มากมาย แต่ละเว็บไซต์จะมี Domain name ที่ไม่ซ้ำกัน

คอมพิวเตอร์ที่จัดเก็บ และคอยให้บริการข้อมูลของเว็บไซต์ เรียกว่า Web Server โดยอาศัยโปรแกรม Web Browser

World Wide Web (WWW)

เป็นบริการหนึ่งบนอินเทอร์เน็ตที่
ให้บริการค้นหาและนำเสนอสารสนเทศ

ลักษณะเนื้อหาที่มีให้บริการ

ข้อมูลการตลาดสำหรับสินค้า (Product Information)

นามานุกรมของพนักงานของแต่ละหน่วยงาน
(Staff Directory)

การจัดแบ่งหมวดหมู่ของสิ่งพิมพ์ในสถาบันบริการสารสนเทศ (Library Catalog)

ข่าวสารทันสมัย (Current News)

ข่าวสารข้อมูลทางราชการ (Governmental Information)

การแถลงข่าวแก่สื่อมวลชน (Press Release)

บทความที่เลือกสรรเฉพาะ (Selected Article Reprints)

ข้อมูลด้านบันเทิง และอื่นๆ

ข้อมูลที่ไม่ปรากฏ

ความลับทางการค้า (Trade Secrets)

ฐานข้อมูลเชิงพาณิชย์ต่างๆ (Commercial Datavases)
(ยกเว้นเป็นสมาชิก)

สิ่งพิมพ์ที่มีลิขสิทธิ์ (Copyrighted Published Materials)
(ยกเว้นได้รับการขออนุญาตแล้วเท่านั้น)

ประเภทเว็บไซต์ที่ทำหน้าที่ค้นหาข้อมูล

นามานุกรม (Web Directories)

เป็นเครื่องมือในการสืบค้นที่รวบรวมสารสนเทศ
บนอินเทอร์เน็ต และคัดแยกสารสนเทศเหล่านั้น
ออกเป็นกลุ่ม

ทำหน้าที่คล้ายกับบัตรรายการของห้องสมุด

เว็บที่เป็นที่นิยมใช้

Yahoo

Dmoz

Starting Point

Business.com

Librarian's Index Internet

เครื่องมือสืบค้น (Search engine)

เป็นเครื่องมือในการสืบค้นที่อาศัยการทำงานของ
โปรแกรมที่พัฒนาขึ้น

แต่ละตัวได้รับการพัฒนาจากบุคคลหลายๆ หน่วยงาน มีผลทำให้ Search engine แต่ละตัวมีลักษณะที่แตกต่างกันออกไป

Search engine ที่มีผู้ใช้อย่างแพร่หลาย

Google

MSN Live Search

Ask

ควรใช้ Search engine ที่หลากหลายมากกว่าหนึ่งตัวในการสืบค้นสารสนเทศ ซึ่งจะทำให้ได้ผลการสืบค้นที่มากขึ้นและตรงกับความต้องการ

องค์ประกอบของกลไกลการสืบค้นสารสนเทศ
บนอินเทอร์เน็ต (Search Engine)

ตัวสำรวจหรือรวบรวมข้อมูล
(Spider หรือ Crawler หรือ Rotot)

ทำหน้าที่ตะเวณไปยังเว็บไซต์ต่างๆเพื่อทำการรวบรวมสารสนเทศ และส่งกลับมายังดรรชนีหรือฐานข้อมูล เพื่อทำการประมวลผล

ตัวดรรชนี (Indexer) หรือ Catalog

ทำหน้าที่รวบรวมคำ และตำแหน่งทุกๆเพจที่สำรวจ
มาได้

โปรแกรมค้นหาข้อมูล (Search Engine Software
หรือ Query Processor)

ทำหน้าที่เปรียบเทียบความเกี่ยวข้อง
ระหว่างเว็บไซต์และความต้องการของ
ผู้สืบค้น

เทคนิคการสืบค้น

เทคนิคตรรกบูลลีน

การใช้ And, Or, Not ประกอบเป็นประโยคการค้นหา

บางกลไกใช้เครื่องหมาย & (ampersan), I (pipe)
แลt ! (exclamation) แทน

การใช้เทคนิคบูลลีนจากเมนูทางเลือก (Drop down menu) ว่าต้องการสืบค้นการที่เกี่ยวข้องกับคำค้นอย่างไร

การใช้เครื่องหมาย + (Plus) หรือ - (Minus) กำหนดหน้าคำค้นที่ต้องการ

เทคนิคการตัดคำ

การใช้เครื่องหมาย

เครื่องหมาย * (asterisk) แทนการตัดคำ
ส่วนใหญ่เป็นการตัดท้ายคำค้นที่ต้องการ

เครื่องหมาย ? หมายถึง ให้สืบค้นคำที่มีรากคำตามที่กำหนดและมีตัวอักษรตามหลังได้อีกไม่เกินจำนวน ? ที่กำหนดในคำค้น

การสืบค้นในลักษณะของ Stemming

การสืบค้นจากรากคำ

เทคนิคการใช้คำใกล้เคียง

ใช้คำว่า ADJ, NEAR, FAR และ BEFORE
ประกอบเป็นประโยคการค้น

เพื่อกำหนดลักษณะของผลการสืบค้นที่ต้องการ

สามารถใช้ O ร่วมกับจำนวนเลขที่ต้องการให้
คำห่างกัน

เทคนิคการใช้รหัสกำกับคำค้น

สืบค้นจากเมนูทางเลือก
(Drop down menu)

สืบค้นโดยใช้เขตข้อมูลกำกับ
ลงในประโยคการค้น

เทคนิคอื่นๆ

เทคนิคการค้นด้วยเครื่องหมายคำพูด "..."
(Exact phrased search)

เทคนิคการค้นหาคำพ้องความหมาย (Synonyms)

เทคนิคการค้นกลุ่มคำหรือคำที่ไม่แน่ใจด้วย
เครื่องหมาย * (Wildcard)

เทคนิคค้นหาช่วงชุดของตัวเลข (Number range)
ด้วยเครื่องหมาย ..

เทคนิคการหานิยามหรือความหมายของคำ
(Definition) โดยใช้คำว่า define:
ตามด้วยคำที่ต้องการทราบความหมาย

เทคนิคการกรองสิ่งที่ค้นหา (SafeSearch Filtering)
เทคนิคนี้จะมีใช้สำหรับ Search Engine บางตัว

ควรใช้คำที่หลากหลายและไม่ควรใช้คำที่ค้นหาเกิน 32 คำ