แนวทาง
การสร้างจิตสำนึก

ประเทศชาติ

การเป็นสมาชิกที่ดีของประเทศชาติ

เคารพกฎหมายและทำตามกฎระเบียบ ข้อบังคับของสังคม เช่น ไม่ล่วงละเมิดสิทธิของผู้อื่น หรือ ไม่กระทำผิดกฎหมายที่จะทำให้รัฐต้องเสียงบประมาณในการป้องกันและปราบปราม

เป็นผู้มีเหตุผลยอมรับฟังความคิดเห็นของคนอื่น

ยอมรับความคิดเห็นของเสียงส่วนใหญ่ เมื่อมีความขัดแย้งในการดำเนินกิจกรรมอันเกิดจากความคิดเห็นแตกต่างกัน

เป็นผู้นำมีน้ำใจประชาธิปไตรและเห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวม

สังคม

สถานศึกษา

โดยมีจุดมุ่งหมายรวบยอดว่า ต้องการจัดการศึกษาพัฒนาคนให้มีจิตสำนึกเป็นมนุษย์ที่เต็มที่ คือการพัฒนาจิตใจที่เป็นรากฐาน

สถาบันศาสนา

ต้องเป็นผู้นำในการสร้างจิตสำนึกต่อส่วนรวมให้เกิดขึ้น ต้องนำคำสั่งสอนของพระพุทธองค์ที่ทรงเน้นให้แก่ประโยชน์สุขของสังคมเป็นส่วนใหญ่

สถาบันครอบครัว

ความอบอุ่นของสถาบันครอบครัวมีความสำคัญเป็นอันดับแรกเพราะเป็นจุดเริ่มต้นที่ช่วยให้ทารกจะเกิดจิตสำนึกเห็นความสำคัญของส่วนรวม ความใกล้ชิดระหว่างพ่อแม่กับลูก จึงเป็นสิ่งจำเป็นอย่างยิ่ง สถาบันครอบครัวจึงเป็นพื้นฐานของสังคม

สื่อมวลขน

สื่อมวลชนเป็นสถาบันที่ทรงอิทธิพลอย่างยิ่งในการกระจายความคิดความรู้ หรือสิ่งใดสิ่งหนึ่งสู่การรับรู้ของประชาชน ความร่อมมือจากสื่อมวลชนจะช่วยสร้างความเข้าใจช่วยสร้างจิตสำนึกที่ถูกต้อง

ตัวเอง

ด้านที่ไม่ดี

เป็นบุคลที่เอารัดเอาเปรียบเื่อน

ไม่มีความเคารพในสิทธิเสรีภาพของคนอื่น

ไม่มีคุณธรรม จริยธรรม และไม่ปฏิบัติตนตามหลักธรรม

ไม่มีความรับผิดชอบในตัวเอง

ด้านที่ดี

เป็นผู้ที่มีเหตุผล ยอมรับฟังความคิดเห็นของคนอื่น

มีความรับผิดชอบต่อตัวเองและสังคม

มีศีลธรรมไว้เป็นหลักในการควบคุมพฤติกรรมของตนเอง

เคารพกฎระเบียบของสังคมที่ตั้งใว้

จัดทำโดย พระประดิษฐ ไกรยรัตน์ (จารุธมฺโม)
รหัสนักศึกษา 6510440311003
สาขาการสอนพระพุทธศาสนา
วิชา GE1001 การป้องกันและปราบปรามการทุจริต
อาจารย์ สุทธินันท์ พรหมพันธู์ใจ