ภาษีเงินได้นิติบิุคคล

นิติบิุคคลที่ได้รับยกเว้นภาษี

นิติบุคคลที่เป็นองค์การของรัฐ

นิติบุคคลที่ไม่แสวงหากำไร

นิติบุคคลที่ได้รับการยกเว้นตามบทบัญญัติของกฎหมายต่างๆ

ผู้มีหน้าที่เสียภาษีเงินได้นิติบิุคคล

บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิตบิุคคลท่ตั้งขึ้นตามกฎหมายไทย

บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายต่างประเทศ

กิจการซึ่งดำเนินการเป็นทางค้า หรือหากำไร

กิจการร่วมค้า (Joint Ventrue)

มูลนิธิหรือสมาคมที่ประกอบกิจการซึ่งมีรายได้

นิติบุคคลที่อธิบดีกําหนดโดยอนุมัติรัฐมนตรีและประกาศในราชกิจจานุเบกษา

แหล่งเงินได้

บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่จดทะเบียนจัดตั้งขึ้นตามกฎหมายไทยไม่ว่าจะประกอบกิจการในประเทศไทยหรือต่างประเทศ

บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่จดทะเบียนจัดตั้งขึ้นตามกฎหมายต่างประเทศให้เสียภาษีเฉพาะกิจการที่กระทำในประเทศไทย

รอบเวลาระยะบัญชี

รอบระยะเวลาบัญชีทั่วไป

การคำนวณภาษีเงินได้นิติบุคคลจะต้องเท่ากับ 12 เดือนโดยจะเริ่มและสิ้นสุดเมื่อใดก็ได้

รอบระยะเวลาบัญชีน้อยกว่า 12 เดือน

1.บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลเริ่มตั้งใหม่

2.บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลอาจยื่นคำร้องขอเปลี่ยนวันสุดท้ายของรอบ

3.บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่เลิกกัน

4.บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลควบกัน

รอบระยะเวลาบัญชีมากกว่า 12 เดือน

บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลเลิกกิจการ

อธิบดีกรมสรรพากรเห็นสมควร สั่งให้ขยายรอบระยะเวลาบัญชี

ฐานภาษีเงินได้นิติบุคคล

1.ฐานกำไรสุทธิ

2.ฐานรายรับก่อนหักรายจ่าย

3.ฐานเงินได้บางประเภทที่จ่ายจากหรือในประเทศ

4.ฐานการจำหน่ายเงินกำไรออกไปจากประเทศไทย

อัตราภาษี

เงินได้พึงประเมินประเภทที่40(2)-(6)นอกจากเงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40(4)(ข)

ร้อยละ 15

เงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40(4)(ข)

ร้อยละ 10

สถานที่ยื่นแบบแสดงรายการภาษี

ในเขตกรุงเทพมหานคร ให้ยื่น ณ

1.สำนักงานสรรพากรพื้นที่สาขาในท้องที่ที่สำนักงานใหญ่ตั้งอยู่

2.ธนาคารพาณิชย์ไทยและสาขาในเขตกรุงเทพมหานคร

ในเขตจังหวัดอื่น ให้ยื่น ณ

1.ที่ว่าการอำเภอหรือกึ่งอำเภอท้องที่ที่สำนักงานใหญ่ตั้งอยู่

2.สำนักงานสาขาของธนาคารพาณิชย์ไทยในเขตอำเภอหรือกึ่งอำเภอท้องที่ที่สำนักงานใหญ่ตั้งอยู่

เงื่อนไขการคำนวณกำไรสุทธิตามมาตรา 65 ทวิ

1.รายการที่ระบุไว้ในมาตรา 65 ตรี

2.ค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาของทรัพย์สิน

3.การตีราคาทรัพย์สิน

4.การโอนสินทรัพย์โดยไม่มีค่าตอบแทน

5.การคำนวณมูลค่าของทรัพย์สินและหนี้สิน เมื่อมีค่าหรือราคาเป็นเงินตราต่างประเทศ

6.การตีราคาสินค้าคงเหลือ

7.การคำนวณราคาทุนของสินค้าที่ส่งเข้ามาจากต่างประเทศ

8.การคำนวณราคาทุนของสินค้าเป็นเงินตราต่างประเทศ

9.การจำหน่ายหนี้สูญ

10.การคำนวณเงินปันผลเป็นรายได้

11.ดอกเบี้ยกู้ยืมที่อยู่ในบังคับต้องถูกหักภาษีไว้ ณ ที่จ่าย

12.เงินปันผลหรือเงินส่วนแบ่งของกำไร

13.มูลนิธิหรือสมาคม

14.ภาษีขาย

เงินได้ที่ได้รับการยกเว้นภาษี

1.ยกเว้นประมวลรัษฎากร

2.ยกวเ้นตามพระราชกฤษฎีกา

3.ยกเว้นตามกฎหมายอื่น

ผู้มีหน้าที่เสียภาษี

1.บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ตั้งตามกฎหมายของต่างประเทศ เข้ามาประกอบกิจการในประเทศไทยประเภทกิจการขนส่งระหว่างประเทศ

2.มูลนิธิหรือสมาคมที่ประกอบกิจการแล้วมีรายได้

3.บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายไทยหรือกฎหมายของต่างประเทศหรือถือว่าประกอบกิจการในประเทศซึ่งเข้าเกณฑ์จะต้องเสียภาษีจากฐานกำไรสุทะฺแต่นิติบุคคลไม่ยื่นรายการ ไม่ทำบัญชี เจ้าพนักงานประมเินมีอำนาจประเมินภาษีในอัตราร้อยละ 5 ของยอดรายรับก่อนหักรายจ่าย