Basic research and Data collection

ประเภทของสถิติ

Descriptive
Statistics

เกี่ยวข้องกับการทำตาราง
การพรรณนา การอธิบายข้อมูล
สถิติที่ใช้ เช่น ค่าเฉลี่ย ค่ามัธยฐาน
ค่าฐานนิยม ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ค่าพิสัย ฯลฯ

Inferential
Statistics

วิเคราะห์ข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างเพื่อ
นำไปสู่การลงนัยสรุปไปยังประชากร
- สถิติพารามิเตอร์
(Parametric Statistics)
- สถิตไร้พารามิเตอร์
(Nonparametric Statistics)

วัตถุประสงค์โดยทั่วไปของการใช้สถิติเพื่อการวิจัย

1. พรรณนาคุณสมบัติของหน่วยศึกษา/วิเคราะห์

ข้อพิจารณาการใช้สถิติเพื่อการวิจัย

ทราบวัตถุประสงค์ของการนำวิธีการสถิติมาใช้

ทราบประเภทของสถิติที่เหมาะสมกับวัตถุประสงค์

รู้ลักษณะของข้อมูลว่ามีการวัดระดับใด (Level of
Measurement)

สามารถกำหนดสถานภาพของตัวแปรที่ศึกษาได้ว่าเป็นตัวแปร
อิสระ หรือตัวแปรตาม

รู้หลักการเบื้องต้นของการใช้สถิติ

รู้การนำเสนอ การอ่าน ละการตีความหมายผล

2. ศึกษาความแตกต่างระหว่างกลุ่มต่างๆ ที่เป็น
เป้าหมายของการศึกษา

3. ศึกษำาความสัมพันธ์
ระหว่ำงตัวแปร

4. ศึกษาการประมาณค่า
หรือการพยากรณ์

ประเภทของข้อมูล

นามบัญญัติ (Nominal Scale)

เป็นระดับการวัดที่หยาบที่สุด จัดข้อมูล
หรือตัวแปรออกเป็นกลุ่ม เช่น เพศ
อาชีพ เป็นต้น

ใช้สถิติง่ายๆ ในการคำนวณ คือ ความถี่
สัดส่วน ร้อยละ จะนำไป บวก
ลบ คูณ หาร กันไม่ได้ในทางสถิติ เพราะ
ไม่มีความหมาย

เรียงอันดับ (Ordinal Scale)

เป็นข้อมูลที่ใช้จัดอันดับของสิ่งต่างๆ โดย
เรียงอันดับของข้อมูลตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
จากสูงสุดไปหาต่ำสุด

สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ คือ ความถี่ สัดส่วน
ร้อยละ

อันตรภาค (Interval Scale)

เป็นข้อมูลที่บอกถึงความแตกต่างระหว่างค่าที่
วัดได้แต่ละช่วง ที่มีความห่างเท่ากัน ทุกช่วง
เป็นข้อมูลที่เป็นตัวเลข สามารถ บวก ลบ กันได้
แต่ไม่มีศูนย์แท้ เช่น อุณหภูมิ ระดับทัศนคติ
ระดับความคิดเห็น

สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ คือ ความถี่ สัดส่วน
ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน และ
สถิตชั้นสูงทุกตัว

อัตราส่วน (Ratio Scale)

ข้อมูลประเภทนี้เป็นข้อมูลที่ใช้วัดในระดับสูง
สามารถบวก ลบ คูณ หาร ได้ และมีศูนย์แท้
เช่น น้ำ หนัก ความเร็ว ความกว้าง ความหนา พื้นที่
จำนวนเงิน อายุ ระยะทาง ซึ่งถ้ามีค่าเป็น 0 หมายถึง ไม่มี

ข้อมูลเหล่านี้สามารถนำไปวิเคราะห์กับสถิติได้
ทุกตัว

คำจำความของ
สถิติ (Statistics)

ตัวเลขหรือข้อมูลที่ได้จากการ
เก็บรวบรวม เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า
ข้อมูลทางสถิติ (Statistical data)

ตัวเลขแทนปริมาณจำนวนข้อมูล
หรือข้อเท็จจริงของสิ่งต่างๆ
ที่โดยทั่วไปต้องการศึกษาหาความรู้

ค่าตัวเลขที่เกิดจากการคำนวณมา
จากกลุ่มตัวอย่าง(Sample) หรือคิดมา
จากนิยามทางคณิตศาสตร์

หลักการเบื้องต้นที่สำคัญของการใช้สถิติ

หลีกเลี่ยงการนำเสนอซำ้ซาก

เสนอในรูปแบบมาตรฐานของแต่ฃะวิธีการหรือที่วงวิชาการยอมรับ

แปลผลค่าสถิติต่างๆ ได้ถูกต้อง

ตีความหมาย