สถิติพื้นฐานงานวิจัย
คำจำกัดความ
รากศัพท์มาจาก stat
ข้อมูลหรือสารสนเทศ
อำนวยประโยชน์ต่อการบริหารประเทศในด้านต่างๆ
ความหมาย
ตัวเลขหรือข้อมูลที่ได้จาการเก็บรวบรวม
เรียกอีกอย่างว่า ข้อมูลทางสถิติ (Statistical data)
ตัวเลขเเทนปริมาณจำนวนข้อมูลหรือข้อเท็จจริงของสิ่งต่างๆ
ค่าตัวเลขที่เกิดจากการคำนวณมาจากกลุ่มตัวอย่างหรือคิดมาจากนิยามทางคณิตศาสตร์
ประเภทข้อมูล
นามบัญญัติ (Nominal scale)
เป็นระดับการวัดที่หยาบที่สุด
จัดข้อมูลหรือตัวเเปรออกเป็นกลุ่ม
ใช้สถิติอย่างง่ายๆในการคำนวณ
พวกความถี่, สัดสวน, ร้อยละ
นำมาบวกลบคูณหารไม่ได้ เพราะถือว่าไม่มีความหมาย
จัดกลุ่มได้
เรียงอันดับ (Ordinal scale)
ใช้จัดอันดับของสิ่งต่างๆโดยเรียงอันดับข้อมูลตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้จากสูงสุดไปหาตำ่สุด
สถิติที่ใช้วิเคราะห์ คือ ความถี่ สัดสวน ร้อยละ
จัดกลุ่มได้
บอกระดับความมากน้อยหรือเรียงลำดับได้
อันตรภาค (Interval scale)
บอกถึงความเเตกต่างระหว่างค่าที่วัดได้เเต่ละช่วง ที่มีความห่างเท่ากัน
บวก ลบ คูณ หารได้เเต่ไม่มีศูนย์เเท้
สถิติที่ใช้วิเคราะห์ คือ ความถี่ สัดสวน ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติชั้นสูงทุกตัว
จัดเป็นกลุ่มได้
บอกระดับความมากน้อยหรือเรียงลำดับได้
มีค่าเป็นตัวเลขที่มีช่วงห่างเท่ากัน
อัตราส่วน (Ratio scale)
เป็นข้อมูลที่ใช้วัดในระดับสูงสามารถบวก ลบ คูณ หาร ได้เเละมีศูนย์เเท้
วิเคราะห์กับสถิติได้ทุกตัว
จัดเป็นกลุ่มได้
บอกระดับความมากน้อยหรือเรียงลำดับได้
มีค่าเป็นตัวเลขที่มีช่วงห่างเท่ากัน
มีจุดเริ่มต้นจาก 0
ประเภทสติถิ
สถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistices)
การใช้สถิติเพื่ออธิบาข้อมูลที่มีอยู่
ไม่ได้นำไปพยากรณ์ประชากร เเต่อย่างใด
ลักษณะที่จะพรรณนาข้อมูลนั้น มีอยู่สองลักษณะ
การใช้ตัวอักษรหรือตัวเลข
การใช้เเผนภาพ
สถิติเชิงพารามิเตอร์ (Parametric Statistices)
สถิติพารามิเตอร์
ข้อมูลระดับช่วงขึ้นไป
มีการเเจกเเจงเป็นโค้งปกติ
ประชากรแต่ละกลุ่มที่นำมาศึกษาจะต้องมีความ
แปรปรวนเท่ากัน
การเขียนแสดงค่าใช้อักษรกรีกเป็นสัญลักษณ์
สถิติไร้พารามิเตอร์
เป็นวิธีการทางสถิติที่สามารถนำมาใช้ได้โดยปราศจากข้อตกลง
เบื้องต้นทั้ง 3 ประการข้างต้น สถิติที่อยู่ในประเภทนี้
วัตถุประสงค์
พรรณนาคุณสมบัติของหน่วยศึกษาเเละวิเคราะห์
ศึกษาควำมแตกต่างระหว่างกลุ่มต่างๆ ที่เป็นเป้ำหมายของการศึกษา
ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร
ศึกษาการประมาณค่ำหรือการพยากรณ์
ตัวเเปร
ประเภทตัวเเปรตามบทบาท
ตัวเเปรอิสระ (Independent Variables)
ตัวเเปรที่กำหนดขึ้นเพื่อทดสอบสมมติฐาน
เป็นตัวเเปรที่เราเปลี่ยนไปเพื่อเพื่อจะดูผลที่ตามมา
ตัวเเปรตาม (่่่่่Dependent Variables)
ตัวเเปรที่เปลี่ยนไปตามตัวเเปรต้น หรือผลของตัวเเปรต้น
ประเภทตัวเเปรตามระดับของการวัด
ตัวเเปรกลุ่มหรือนามมาตรหรือนามกำหนด (Norminal)
ตัวเเปรอันดับ (Ordinal)
ตัวเเปรช่วงหรืออันตรภาค (Interval)
ตัวเเปรอัตราส่วน (Ratio)
หลักการเบื่องต้นที่สำคัฯของการใช้สถิติ
หลีกเลี่ยงการเสนอซ้ำซาก
เสนอในรูปเเบบมาตรฐานของเเต่ละวิธีการหรือที่วงวิชาการยอมรับ
แปรผลค่าสถิติต่างๆได้ถูกต้อง
ตีความหมาย
ข้อพิจารณาการใช้สถิติเพื่อการวิจัย
ทราบวัตถุประสงค์ของการนำวิธีการสถิติมำใช้
ทราบประเภทของสถิติที่เหมาะสมกับวัตถุประสงค์
รู้ลักษณะของข้อมูลว่ามีการวัดระดับใด (Level of
Measurement
สามารถกำหนดสถานภาพของตัวแปรที่ศึกษาได้ว่าเป็นตัวแปร
อิสระ หรือตัวแปรตาม
รู้หลักการเบื่องต้นของการใช้สถิติ
รู้การนำเสนอ การอ่าน เเละการตีความผล