อำนาจอธิปไตย
Sovereignty
1.ความหมาย
อำนาจสูงสุดในการปกครองรัฐ
สิ่งอื่นใดจะมีอำนาจยิ่งกว่าหรือ
ขัดต่ออำนาจอธิปไตยหาได้ไม่
2.ลักษณะของ
อำนาจอธิปไตย
2.1.ความเด็จขาด
2.2.เป็นการทั่วไป
2.3.ถาวร
3.4. แบ่งแยกไม่ได้
3.แนวคิดเรื่องที่มา
ของอำนาจอธิปไตย
3.1.ทฤษฎีเทวสิทธิ์
หรือ ลัทธิเทพาธิปไตย
1) ลักษณะ
2) แนวคิด
(1) อำนาจเป็นของกษัตริย์แต่ผู้เดียว
(2) อำนาจเป็นของพระเจ้า
เลือกผู้ใช้อำนาจตามเจตจำนงของพระเจ้า
3.2.ทฤษฎีสัญญาประชาคม
หรือ ลัทธิประชาธิปไตย
1) ลักษณะ
5.ระบบแบ่งแยก
อำนาจอธิปไตย
5.1.ประเภทของการ
แบ่งแยกอำนาจ
1) นิติบัญญัติ
2) บริหาร
3) ตุลาการ
5.2.รูปแบบที่เกิดจาก
การแบ่งแยกอำนาจ
1) ระบบประธานาธิบดี
(แยก 3 ส่วน สิ้งเชิง)
2) รูปรัฐบาลแบบรัฐสภา
(นิติกับบริหารอยู่ด้วยกัน)
4.ประเภทของ
อำนาจอธิปไตย
4.1.อำนาจทางกฎหมาย
4.2.อำนาจทางการเมือง
4.3.อำนาจตามพฤตินัย
1) ภายในประเทศ
2) ภายนอกประเทศ
4.4.อำนาจตามนิตินัย
1) การเมืองภายในประเทศ
2) การเมืองระหว่างประเทศ
4.5.อำนาจภายนอก