ชมรมความรู้

1.นิยามหรือความหมายของสังคมความรู้

สังคมความรู้

สังคมมที่มีการเข้าถึงและใช้ประโยชน์จากเครือข่ายสารสนเทศสูง จาก
ความรู้ที่มีบุคลากรท างานโดยใช้ทักษะและความรู้สูง

2.ยุคของสังคมความรู้

1.สังคมความรู้ยุคที่1 เป็นสังคมความรู้ที่มีพลังและอำนาจอยู่ด้วยกัน เกิดการผลิต มี
ความสามารถในการแข่งขัน กลไกตลาด และความอยู่รอด ในยุคนี้นักวิชาการหรือนักวิชาชีพ จะมีบทบาทหลักในการจัดการความรู้ ใช้พลังของความรู้ มีความเป็นมืออาชีพการจัดการความรู้ หรือการ
พัฒนาความรู้ (Knowledge Management) เป็นอย่างมาก ซึ่งบุคคลเหล่านี้จะมีความสามารถ 5 ด้าน

1.know) Knowledge Access คือ การเข้าถึงความรู้ด้วยวิธีการต่างๆ ได้แก่ การเข้าถึงความรู้
ทาง Internet หรือ ICT Connectivity ต่าง ๆ ต้องประกอบไปด้วยความสามารถในการเข้าถึงความรู้
ความใฝ่รู้

2.knowwledge Validation คือ การประเมินความถูกต้องของความรู้ ความรู้มีทั้งของจริงและของหลอก

3.knowwledge Valuation คือ การตีค่า การตีความรู้ ว่าเมื่อมีการใช้ความรู้นั้นแล้วมีความคุ้มค่าหรือไม่ ซึ่งในการตีค่าความรู้ที่มีหลักฐานถูกต้องตามหลักวิชาการ

4.knowledge Optimization คือ การท าความรู้ให้ง่ายที่จะใช้ การน าความรู้ออกมาเป็นกฎเกณฑ์ ระเบียบต่าง ๆ ต้องมีพื้นฐานมาจากความรู้ เช่น การท าคู่มือต่าง ๆ

5. Knowledge Dissemination คือ การกระจายความรู้ ปัจจุบันความรู้เป็นสมบัติ
สาธารณะที่ทุกคนสามารถเข้าถึงได้ อยู่ที่ความสามารถของแต่ละคนที่จะเข้าถึงความรู้

2. สังคมความรู้ยุคที่ 2 เป็นสังคมความรู้แบบพอเพียง สมดุล บูรณาการ ประชาชนและทุก
ภาคส่วนมีบทบาทในการร่วมกันเป็นเจ้าของ และเป็นผู้ใช้ความรู้ให้เป็นพลัง มีความเป็นอิสระ

ลักษณะสําคัญของสังคมความรู้ยุคที่ 2 คือ

1.มีการสะสมความรู้ภายในสังคม

2.มีการถ่ายโอนความรู้ภายสังคม

3. มีการสร้างสรรค์ความรู้ใหม่ในสังคม

4. มีการประยุกต์ความรู้มาใช้ภายในสังคม

3. ลักษณะสังคมแห่งการเรียนรู้

1.ไม่จํากัดขนาดและสถานที่ตั้ง

2.เน้นการจัดการเรียนรู้เป็นปัจจัยหลัก

3.ประชาชนได้รับโอกาสการพัฒนา (Key Individuals)

4.สถาบันทางสังคมในพื้นที่เป็นตัวหลักในการริเริ่ม/ด าเนินการ (Key Institutions)

5. มีกลุ่มภาคประชาชนเป็นแกนกลาง (Core Groups) เพื่อรวมตัวกันจัดกิจกรรมพัฒนาชุมชน

6.มีการพัฒนานวัตกรรมและระบบการเรียนรู้

7.มีภาคีเครือข่ายที่ร่วมด าเนินการอย่างต่อเนื่อง

8. การริเริ่ม/การเปลี่ยนแปลงมีอยู่ตลอดเวลา

9. สถานศึกษาเป็นส่วนหนึ่งของชุมชนแห่งการเรียนรู้

10. ความรับผิดชอบเป็นหน้าที่ของบุคคลและชุมชนร่วมกัน

11.ทุกคนเป็นครูและผู้เรียน

5.กระบวนการจัดการความรู้(Processes of Knowledge)

1.การบ่งชี้ความรู้ เป็นการพิจารณาว่าจะท าอย่างไรให้องค์กรบรรลุเป้าหมาย โดยจะคัดเลือก
ว่าจะใช้เครื่องมืออะไร และขณะนี้เรามีความรู้อะไรบ้าง อยู่ในรูปแบบใด อยู่ที่ใคร โดยอาจจะ
พิจารณาว่าองค์กรมีวิสัยทัศน์ พันธกิจ ยุทธศาสตร์ เป้าหมายคืออะไร

2.การสร้างและแสวงหาความรู้ ซึ่งสามารถท าได้หลายทาง เช่น การสร้างความรู้ใหม่
แสวงหาความรู้จากภายนอก รักษาความรู้เก่า ก าจัดความรู้ที่ใช้ไม่ได้แล้ว

3.การจัดความรู้ให้เป็นระบบ เป็นการวางโครงสร้างความรู้ เพื่อเตรียมพร้อมส าหรับการเก็บ
ความรู้อย่างเป็นระบบเพื่อการเรียกใช้งานได้อย่างรวดเร็วและถูกต้องในอนาคต

4.การประมวลและกลั่นกรองความรู้ เช่น การปรับปรุงรูปแบบเอกสารให้เป็นมาตรฐาน ใช้
ภาษาเดียวกัน และปรับปรุงเนื้อหาให้สมบูรณ์และเหมาะสม

5.การเข้าถึงความรู้ เป็นการท าให้ผู้ใช้ความรู้เข้าถึงความรู้ที่ต้องการได้ง่ายและสะดวก โดย
การใช้พวกระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ(IT) หรือการประชาสัมพันธ์บน Web board

6.การจัดการความรู้ในองค์กรการแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้ ท าได้หลายวิธีการซึ่งจะแบ่งได้
สองกรณีได้แก่ Explicit Knowledge อาจจะจัดท าเป็นเอกสาร ฐานความรู้ และเทคโนโลยี
สารสนเทศต่างๆ

7.การเรียนรู้ ควรท าให้การเรียนรู้เป็นส่วนหนึ่งของงาน เช่น การเรียนรู้จากสร้างองค์ความรู้
การน าความรู้ไปใช้ให้เกิดการเรียนรู้และประสบการณ์ใหม่ๆ และน าความรู้ที่ได้ไปหมุนเวียนต่อไป
อย่างต่อเนื่อง

4.ความรู้ (Knowledge)

1. ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ “ความรู้”

ข้อมูลล สารสนเทศและความรู้ มีความหมายที่เกี่ยวข้องกันจนในบางครั้งไม่สามารถแยกออกจากกันได้ ซึ่งคําทั้ง 3 คํามีนักวิชาการหลายๆ ท่านได้อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล สารสนเทศ
และความรู้

1.1ความหมายของข้อมูล (Data)

Ackoff (1989) กล่าวว่า ข้อมูล คือ สัญลักษณ์ที่ยังไม่ได้แปรความ

วิจารณ์ พานิช (2546) กล่าวว่า ข้อมูล หมายถึง ข้อมูลเชิงบรรยาย หรือข้อมูลเชิงปริมาณเกี่ยวกับสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เหตุการณ์ใดเหตุการณ์หนึ่ง หรือเรื่องใดเรื่องหนึ่ง

พรธิดา วิเชียรปัญญา (2547) กล่าวว่า ข้อมูล หมายถึง ข้อมูลดิบที่เกิดจากการทํางานประจําวัน ซึ่งถือว่าเป็นข้อมูลในระดับปฏิบัติการ

ประะสิทธิ์ ทีฆพุฒิ และครรชิต มาลัยวงศ์ (2549 : 35-37) กล่าวว่า ข้อมูล หมายถึง
บันทึกที่แสดงความเป็นไปหรือเป็นข้อเท็จจริงเกี่ยวกับเหตุการณ์หนึ่งๆ หรือเกี่ยวกับ คน สิ่งของ หรือเรื่องใดเรื่องหนึ่ง ซึ่งข้อมูลสามารถแบ่งเป็น 5 ประเภท

1ข้อมูลตัวเลขหรือข้อมูลเชิงจ านวน (Numeric Data) เป็นข้อมูลตัวเลข ที่สามารถนํามาบวก ลบ คูณ หารได้ เช่น ข้อมูลบัญชีการเงิน ราคาสินค้า

2.ข้อมูลตัวอักษรหรือข้อมูลที่เป็นข้อความ (Text Data) เป็นข้อมูลที่ไม่สามารถนํามาคํานวณได้ เช่น ชื่อคน ชื่อบริษัท

3.ข้อมูลกราฟิก (Graphical Data) เป็นข้อมูลเกี่ยวกับการสร้างภาพกราฟิก เช่น ข้อมูลภาพโต๊ะ ภาพเก้าอี้ ภาพอาคาร

4.้อมูลภาพลักษณ์ (Image Data) เป็นข้อมูลที่เกิดจากการถ่ายภาพกล้องดิจิตอล หรือ
การสแกนเอกสารด้วยเครื่องสแกนเนอร์ ข้อมูลประเภทนี้จัดเก็บเป็นจุดภาพและไม่สามารถนําไปคํานวณได้ เช่น ภาพใบหน้าของพนักแต่ละคนในบริษัท

5.ข้อมูลเสียง (Voice Data) คือ เสียงต่างๆ ได้แก่ เสียงสั่งงานคอมพิวเตอร์ หรือ
เสียงพูด เสียงที่บันทึกไว้ฟัง

1.2 ความหมายของสารสนเทศ

สามารถสรุปความหมายของสารสนเทศ ได้ดังนี้สารสนเทศ หมายถึง
ข้อมูล ข่าวสาร ข้อเท็จจริง ความรู้ต่างๆ ที่ผ่านการประมวลผลแล้วและสามารถน ามาใช้ประโยชน์ได้
โดยสารสนเทศนั้นบันทึกไว้ในรูปแบบของวัสดุตีพิมพ์ได้แก่ หนังสือ วารสาร หนังสือพิมพ์นิตยสาร
แผ่นพับ จุลสาร เอกสารจดหมายเหตุและวัสดุไม่ตีพิมพ์ได้แก่ สื่ออิเล็กทรอนิกส์ต่างๆ เช่น ภาพยนตร์
วีดิทัศน์แผ่นเสียง เทปโทรทัศน์ข้อมูลจากฐานข้อมูลและจากเครือข่ายอินเทอร์เน็ต รวมถึงวิชา
ความรู้ซึ่งคือข้อเท็จจริงที่มีการค้นคว้าได้หลักฐานหรือเหตุผลชัดเจน และจัดเข้าเป็นระเบียบแล้ว
สามารถน าไปใช้ประโยชน์ได

2. ความหมายของความรู้(Definition of Knowledge

ความรู้ หมายถึง ความเข้าใจในเรื่องบางเรื่อง หรือสิ่งบางสิ่ง ซึ่งอาจจะรวมไปถึงความสามารถในการน าสิ่งนั้นไปใช้เพื่อเป้าหมายบางประการ โดยอาศัย