การเเสวงหาสารสนเทศเเละความรู้

การใช้เครื่องหมายวรรคตอนในรายงานอ้างอิง

เครื่องหมายมหัพภาค (. period)

เครื่องหมายจุลภาค (, comma)

เครื่องหมายอัฒภาค (; semi-colon)

เครื่องหมายมหัพภาคคู่ (: colon)

การใช้คำย่อในการเขียนรายงานอ้างอิง

การเรียงลำดับรายการอ้างอิง

ถ้าจำนวนรายงานไม่มาก ให้เรียงรวมทุกรายงานไว้รวมกันโดยเรียงตามลำดับอักษรของผู้เเต่ง

ถ้าจำนวนรายงานมีจำนวนมาก ควรเรียงรายงานเเยกตามประเภทของเอกสารทั้งนี้ในเเต่ละประเภทให้เรียงตามลำดับอักษรของผู้เเต่งด้วยเช่นกัน ประเภทเอกสารที่เเยกได้มรดังนี้

หนังสือ

บทความในหนังสือ วารสาร หนังสือพิมพ์

เอกสารอื่นๆ เช่น ประชุม สัมมนา จุลสาร เป็นต้น

โสตทัศน์

สารสนเทศอิเล็กทรอนิกส์

การอ้างอิงเอกสาร

การอ้างอิงเอกสารในส่วนเนื้อเรื่อง

ชื่อผู้เเต่ง(ปีพิมพ์)

(ชื่อผู้เเต่ง,ปีพิมพ์)

การอ้างอิงเอกสารส่วนท้ายเรื่อง

ส่วนที่เป็นชื่อผู้เเต่ง

ส่วนที่เป็นชื่อเรื่อง

ส่วนที่เป็นการพิมพ์

การศึกษาค้นคว้าเเละการทำรายงาน

ชนิดของการศึกษาค้นคว้าเเละการทำรายงาน

การศึกษาค้นคว้า

การวิจัย

ภาคนิพจธ์

วิทยานิพจธ์

รายงาน

ประโยชน์ของการทำรายงาน

ทำให้เกิดองค์ความรู้ใหม่

ทำให้มีพัฒนาการทางวิชาการ

ช่วยให้ทราบข้อมูลที่เเท้จริง

ทำให้เกิดการรู้จักใช้ความคิดอย่างมีเหตุผล

เพิ่มพูนทักษะในการเขียนรายงานทางวิชาการ

ส่วนประกอบของรายงาน

ส่วนนำ

ปกนอก

หน้าปกใน

กิตติกรรมประกาศ

คำนำ

สารบัญหรือสารบาญ

ส่วนเนื้อเรื่อง

บทนำ

เนื้อหา

สรุป

ส่วนอ้างอิง

บรรณานุกรม/เอกสารอ้างอิง

ภาคผนวก

ขั้นตอนการเขียนรายงาน

เลือกเเละกำหนดหัวข้อการทำรายงาน

อ่านข้อมูลของเนื้อหาวิชาเพื่อเป็นพื้นความรู้

การจัดทำเค้าโครงรายงาน

รวบรวมบรรณานุกรม

การอ่านเเละจดบันทึก

การใช้สารสนเทศจากเเหล่งต่างๆ

การจัดทำโครงเรื่องครั้งสุดท้าย

การเรียบเรียงรายงาน

การเขียนรายงานอ้างอิงเเละบรรณานุกรม

การเขียนรายงานฉบับสมบูรณ์

การคัดลอกความคิดของผู้อื่นโดยไม่มีอ้างอิง

การอ้างอิงเอกสาร เป็นจรรยาบรรณที่จำเป็นในวงวิชาการ เป็นการให้เกียรติกับเจ้าของผลงานเดิม ในการเรียบเรียงเเละนำเสนอสารสนเทศนั้น จะต้องนำเสนอให้ชัดเจนว่าข้อความส่วนใดเป็นการอ้างอิงความคิดของผู้อื่น เเละส่วนใดเป็นความคิดของเราเอง การลอกเลียนความคิดของผู้อื่นโดยไม่มีการอ้างอิง ถือเป็นการกระทำที่ผิดจรรยาบรรณร้ายเเรงในวงวิชาการ