สังคมและความรู้(knowledge society)

ยุคของสังคมความรู้(Knowledge Society Era)
แบ่งเป็น 2 ยุค

ยุคที่ 1 เป็นสังคมความรู้ที่มีพลังและอำนาจอยู่ด้วยกัน เกิดการผลิต มี
ความสามารถในการแข่งขัน กลไกตลาด และความอยู่รอด มีความเป็นมืออาชีพการจัดการความรู้ซึ่งบุคคลเหล่านี้จะมีความสามารถ 5ด้าน

Knowledge Access

Knowledge Valuation

Knowledge Dissemination

Knowledge Validation

Knowledge Optimization

ยุคที่ 2 เป็นสังคมความรู้แบบพอเพียง สมดุล บูรณาการ ประชาชนและทุกภาคส่วนมีบทบาทในการร่วมกันเป็นเจ้าของลักษณะสำคัญของสังคมความรู้ยุคที่ 2มีดังนี้

มีการสะสมความรู้ภายในสังคม

มีการถ่ายโอนความรู้ภายสังคม

มีการประยุกต์ความรู้มาใช้ภายในสังคม

มีการสร้างสรรค์ความรู้ใหม่ในสังคม

ลักษณะสังคมแห่งการเรียนร

ไม่จำากัดขนาดและสถานที่ตั้ง

ประชาชนได้รับโอกาสการพัฒนา (Key Individuals)

มีกลุ่มภาคประชาชนเป็นแกนกลาง (Core Groups) เพื่อรวมตัวกันจัดกิจกรรมพัฒนาชุมชน

มีภาคีเครือข่ายที่ร่วมด าเนินการอย่างต่อเนื่อง

ความรับผิดชอบเป็นหน้าที่ของบุคคลและชุมชนร่วมกัน

ทุกคนเป็นครูและผู้เรียน

สถานศึกษาเป็นส่วนหนึ่งของชุมชนแห่งการเรียนรู้

มีการพัฒนานวัตกรรมและระบบการเรียนรู้

สถาบันทางสังคมในพื้นที่เป็นตัวหลักในการริเริ่ม/ดำเนินการ (Key Institutions)

เน้นการจัดการเรียนรู้เป็นปัจจัยหลัก

ความรู้ (Knowledge)
ความเข้าใจในเรื่องบางเรื่อง หรือสิ่งบางสิ่ง ซึ่งอาจจะรวมไปถึงความสามารถในการนำสิ่งนั้นไปใช้เพื่อเป้าหมายบางประการโดยการใช้ข้อมูลสารสนเทศที่สะสมในอดีต

ความหมายของข้อมูล (Data)
บันทึกที่แสดงความเป็นไปหรือเป็นข้อเท็จจริงเกี่ยวกับเหตุการณ์หนึ่งๆ

ข้อมูลเสียง (Voice Data)

ข้อมูลภาพลักษณ์ (Image Data)

ข้อมูลกราฟิก (Graphical Data)

ข้อมูลตัวอักษรหรือข้อมูลที่เป็นข้อความ (Text Data)

ข้อมูลตัวเลขหรือข้อมูลเชิงจ านวน (Numeric Data)

ประเภทรูปแบบความรู้(Type of Knowledge)

Explicit Knowledge ความรู้ที่เด่นชัดหรือความรู้ที่บันทึกไว้ เป็นความรู้ที่สามารถ
รวบรวม

Tacit Knowledge ความรู้ที่ซ่อนอยู่ในแต่ละบุคคลหรือความรู้ที่ซ่อนเร้น

กระบวนการจัดการความรู้(Processes of Knowledge)

การจัดการความรู้ในองค์กรการแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้

การจัดการความรู้ในองค์กรการแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้

การเข้าถึงความรู้ เป็นการทำให้ผู้ใช้ความรู้เข้าถึงความรู้ที่ต้องการได้ง่ายและสะดวก โดยการใช้พวกระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ(IT)

การประมวลและกลั่นกรองความรู้ เช่น การปรับปรุงรูปแบบเอกสารให้เป็นมาตรฐาน ใช้ภาษาเดียวกัน

การจัดความรู้ให้เป็นระบบ เป็นการวางโครงสร้างความรู้ เพื่อเตรียมพร้อมส าหรับการเก็บ
ความรู้อย่างเป็นระบบเพื่อการเรียกใช้งาน

การบ่งชี้ความรู้ เป็นการพิจารณาว่าจะท าอย่างไรให้องค์กรบรรลุเป้าหมาย

การสร้างและแสวงหาความรู้ ซึ่งสามารถทำได้หลายทาง เช่น การสร้างความรู้ใหม่แสวงหาความรู้จากภายนอก

ความหมายของสังคมความรู้
สังคมที่มีการเข้าถึงและใช้ประโยชน์จากเครือข่ายสารสนเทศสูง จากความรู้ที่มีบุคลากรทำงานโดยใช้ทักษะและความรู้สูง

คำศัพท์ ที่ไม่รู้จัก
ความรู้ส่วนบุคคล (Individual knowledge)
ความรู้องค์กร (Organizational knowledge)
ประสบการณ์ (Experience)
ความซับซ้อน(Complexity)
วินิจฉัย (Judgment)
สามัญสำนึก (Common sense)
ความรู้ที่ซ่อนเร้น (Tacit Knowledge)