Knowledge Society
(สัมคมความรู้)
Processes of Knowledge
(กระบวนการจัดการความรู้)
Definition of Knowledge Society
(นิยามหรือความหมายของสังคมความรู้)
Social characteristics of learning
Knowledge Society Era
(ยุคของสังคมความรู้)
สังคมที่มีการเข้าถึงและ
ใช้ประโยชน์จากเครือข่ายสารสนเทศสูง
นักวิชาการในยุคสมัยนั้นมีความสามารถ 5 อย่าง ดังนี้
Knowledge Access
(การเข้าถึงความรู้ด้วยวิธีการต่าง ๆ)
Knowledge Validation
(การประเมินความถูกต้องของความรู้)
Knowledge Valuation
(การตีค่า การตีความรู้)
Knowledge Optimization
(การทำความรู้ให้ง่ายที่จะใช้)
Knowledge Dissemination
(การกระจายความรู้)
ลักษณะสำคัญของสังคมความรู้ยุคที่ 2 คือ
2.) มีการถ่ายโอนความรู้ภายสังคม
4.) มีการประยุกต์ความรู้มาใช้ภายในสังคม
1.) มีการสะสมความรู้ภายในสังคม
3.) มีการสร้างสรรค์ความรู้ใหม่ในสังคม
ไม่จำกัดขนาดและสถานที่ตั้ง
เน้นการจัดการเรียนรู้เป็นปัจจัยหลัก
ประชาชนได้รับโอกาสการพัฒนา
สถาบันทางสังคมในพื้นที่เป็น
ตัวหลักในการริเริ่ม/ดำเนินการ
มีกลุ่มภาคประชาชนเป็นแกนกลาง
มีการพัฒนานวัตกรรมและระบบการเรียนรู้
มีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการอย่างต่อเนื่อง
การริเริ่ม/การเปลี่ยนแปลงมีอยู่ตลอดเวลา
สถานศึกษาเป็นส่วนหนึ่งของชุมชนแห่งการเรียนรู้
ความรับผิดชอบเป็นหน้าที่ของบุคคลและชุมชนร่วมกัน
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ “ความรู้”
ข้อมูล สารสนเทศและความรู้ มีความหมายที่เกี่ยวข้อง
กันจนในบางครั้งไม่สามารถแยกออกจากกันได้
ข้อมูลดิบที่เกิดจากการทำงาน
ประจ าวัน ซึ่งถือว่าเป็นข้อมูลในระดับปฏิบัติการ
ความหมายของสารสนเทศ (Information)
ข้อมูลที่ถูก มนุษย์วิเคราะห์และ
ตีความแล้ว มีคุณค่าสูงกว่าข้อมูล
ความหมายของความรู้
(Definition of Knowledge)
สิ่งที่ได้มาโดยการศึกษา ประสบการณ์
ทักษะ การอบรม การดูงาน หรืออาจเกิด
จากการค้นหา ค้นคว้า ค้นพบ
ได้เห็น ได้ฟังของแต่ละบุคคล
ประเภทรูปแบบความรู้
(Type of Knowledge)
ประเภทของความรู้มีหลายลักษณะทั้งความรู้
จากข้อเท็จจริง ความรู้จากประสบการณ์
ความรู้ที่ได้รับถ่ายทอดมาหรือความเชื่อ ความรู้ส่วนบุคคล
สามารถแบ่งความรู้ออกเป็น 2
ประเภทใหญ่ๆ ได้แก่
ความรู้ที่ซ่อนอยู่ในแต่ละบุคคลหรือความรู้ที่ซ่อนเร้น เป็น
ความรู้ที่ได้จากประสบการณ์ ความเชี่ยวชาญหรือสัญชาติญาณของแต่ละบุคคลใ
ความรู้ที่เด่นชัดหรือความรู้ที่บันทึกไว้ เป็นความรู้ที่สามารถ
รวบรวม ถ่ายทอดได้ โดยผ่านวิธีต่างๆ เช่น ฐานข้อมูล ระบบผู้เชี่ยวชาญ รายงาน ทฤษฎี คู่มือต่างๆ
กระบวนการที่ช่วยให้เกิดการพัฒนาการของความรู้ หรือการจัดการกับความรู้ที่จะเกิดขึ้น ภายในองค์กรซึ่งมีดังนี
6.การจัดการความรู้ในองค์กรการแบ่งปันแลกเปลี่ยนความร
7.การเรียนรู้ ควรทำให้การเรียนรู้เป็นส่วนหนึ่งของงาน
4.การประมวลและกลั่นกรองความรู้
3.การจัดความรู้ให้เป็นระบบ
2.การสร้างและแสวงหาความรู้